รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มิติที่ 4.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานของหน่วยงาน : 5025-0918

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
30.00
100
100 / 100
3
70.00
0
0 / 0
4
100.00
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขาภิบาลในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 4 ครั้ง กิจกรรมที่ 2 ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. จำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ประเมินความรู้บุคลากรเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หลังการจัดกิจกรรมฯ โดยใช้แบบทดสอบก่อน-หลัง การส่งเสริมความรู้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขาภิบาลในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 4 ครั้ง (รวมทั้งหมด 34 ครั้ง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขาภิบาลในพื้นที่เขตดอนเมือง จำนวน 3 ครั้ง (รวมทั้งหมด 48 ครั้ง) กิจกรรมที่ 2 ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตาม พรบ.ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 จำนวนทั้งหมด 8 ครั้ง จากทั้งหมด 35 ครั้ง (กิจกรรมที่ 2 ไม่สามารถดำเนินการได้ครบทั้ง 35 ครั้ง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19))

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การดำเนินงานด้านความปลอดภัย ชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของหน่วยงาน มีจุดมุ่งหมายเพื่อให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานคร มีสภาพการทำงานที่ปลอดโรค ปลอดภัยจากการทำงานและส่งเสริมการมีสุขภาพอนามัยที่ดี โดยนำหลักการและแนวทางการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัย ได้แก่ การสืบค้น การประเมินอันตรายหรือประเมินความเสี่ยง และการควบคุม มาประยุกต์ใช้เพื่อนำมาสู่การดำเนินการควบคุมและป้องกันอันตราย ด้วยมาตรการ วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายดังกล่าว

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ตามเกณฑ์ที่สำนักอนามัยกำหนด

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๑ คัดกรองและลดปัจจัยเสี่ยงเชิงพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง