รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

มิติที่ 3.3 ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ : 5025-0919

ค่าเป้าหมาย คะแนน : 5

ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 4.281

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คะแนน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00
100
100 / 100
2
4.26
100
100 / 100
3
4.26
0
0 / 0
4
4.28
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้มีความสะอาด สะดวก ต่อการรับบริการของประชาชน และกองงานผู้ตรวจราชการจัดประชุมชี้แจงแนวทางการสำรวจความพึงพอใจในวันที่ 19 ธันวาคม 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลคะแนนความพึงพอใจครั้งที่ 1 ได้ 4.262 และเมื่อปรับค่าน้ำหนักแล้วได้ 4.305

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- ฝ่ายปกครองได้ดำเนินการรายงานผลการดำเนินการพัฒนา/ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ ประเด็นข้อคำถามที่ได้รับคำแนนต่ำที่สุด อย่างน้อย 2 อันดับ ผ่านระบบออนไลน์ (Google Form) แล้ว เมื่อวันที่ 27 เมษายน 2563รายละเอียดดังนี้ ข้อ 1.8 ท่านชอบข้อมูลในเว็บไซต์ (Website), เฟสบุ๊ก (Facebook) , หรือไลน์ (Line) ของสำนักงานเขต ในระดับใด ได้คะแนน 4.008 สำนักงานเขตดำเนินการปรับปรุงรูปแบบการนำเสนอข่าว โดยใช้ Info Graphic ในการนำเสนอข้อมูลให้เข้าใจง่าย และใช้คลิปวิดีโอเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ยอดผู้เข้าชมเฟสบุ้กเพจ ยอดผู้ติดตาม และแสดงความคิดเห็นมีจำนวนมากขึ้น ข้อ 1.11 มีการดูแลอำนวยความสะดวกเรื่องที่จอดรถ ได้คะแนน 3.819 สำนักงานเขตดำเนินการปรับปรุงพื้นที่จอดรถภายในบริเวณสำนักงานเขต โดยทาสีที่จอดรถคนพิการ และจัดเจ้าหน้าที่ รปภ. อำนวยความสะดวก และกำหนดมาตรการใช้บริการที่จอดรถบริเวณหน้าอาคารสำนักงานเขต (นอกรั้วสำนักงานเขต) - สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) เข้าทอดแบบสอบถามความพึงพอใจครั้งที่ 2 ในเดือนพฤษภาคม 2563 และสำนักงานเขตดำเนินการพัฒนาสภาพแวดล้อม/คุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (NIDA) สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจ 2 ครั้ง ของสำนักงานเขตดอนเมือง ได้แก่ ครั้งที่ 1 ได้ 4.262 และครั้งที่ 2 ได้ 4.299 เฉลี่ยทั้งสองครั้ง ได้ 4.218

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการบริการของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการ ทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานครที่หน่วยงานนั้นๆ ให้บริการ การสำรวจครอบคลุมประเด็นต่าง ๆ เช่น 1.ความพึงพอใจด้านกระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ 2.ความพึงพอใจด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ 3.ความพึงพอใจด้านการบริการผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ 4.ความพึงพอใจในด้านสิ่งอำนวยความสะดวก 5.ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานด้านการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของหน่วยงาน 6.ความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเสริมสร้างและพัฒนาของหน่วยงาน ฯลฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 + ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 / จำนวนครั้งของการสำรวจความพึงพอใจฯ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

บันทึกโดยคอมพิวเตอร์

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๑ บุคลากรกรุงเทพมหานครเป็นผู้ปฏิบัติงานแบบมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นที่เชื่%
:๗.๓.๑.๑ การพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ มีความเป็นมืออาชีพ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง