ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด :
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
เดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม 1.ทบทวน วิเคราะห์ความเสี่ยง ประเมินอันตรายจากการทำงาน คัดเลือกงานที่มีความเสี่ยงสูง นำมาจัดการความเสี่ยงในการทำงาน อย่างน้อย 2 งาน 2.พิจารณาคัดเลือกงานที่ได้รับจัดการความเสี่ยงในปีงบประมาณ พ.ศ.2562 นำมาต่อยอดพัฒนา 1 งาน 3.จัดทำข้อปฏิบัติ แนวทาง หรือมาตรฐานกลางปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัยในการทำงานของการใช้รถยนต์ราชการ 4.เวียนข้อปฏิบัติการใช้รถยนต์ราชการให้บุคลากรในหน่วยงานถือปฏิบัติ 5.จัดทำโครงการจัดการความเสี่ยงด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจากการทำงานของบุคลากรของสำนักงานเขตประเวศ และแผนปฏิบัติงาน 6.รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการฯ ครั้งที่ 1 ให้สำนักอนามัยทราบ
เดือนมกราคม - เดือนมีนาคม 1.ทำแบบสำรวจข้อมูลทั่วไปและแบบประเมินความเสี่ยงสภาพปัญหาก่อนดำเนินกิจกรรม 2. ดำเนินโครงการตามแผนงาน กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน 3. จัดทำข้อปฏิบัติ แนวทางการทำงานว่าด้วยความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงานจากการพิมพ์งานด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ เวียนให้บุคลากรถือปฏิบัติ 4.ดำเนินโครงการตามแผนงาน กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน 5. รวบรวมผลการปฏิบัติงานตามข้อปฏิบัติแต่ละงาน
เดือนเมษายน - เดือนมิถุนายน 1.ดำเนินโครงการตามแผนงาน กำกับ ติดตามผลการดำเนินงาน 2.รายงานผลการปฏิบัติงานตามข้อปฏิบัติ ของการใช้รถยนต์ราชการสังกัดกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2 ให้สำนักอนามัย
เดือนกรกฎาคม - เดือนกันยายน 1.ประชาสัมพันธ์เผยแพร่การดำเนินโครงการและผลสำเร็จของการดำเนินงาน 2. รวบรวมเอกสารผลการดำเนินงานตามโครงการฯ ส่งสำนักอนามัย ว
นิยาม
ตามที่สำนักอนามัยกำหนด
ตามที่สำนักอนามัยกำหนด
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย |
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร% |
:๑.๖.๑.๕ สถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูงได้มาตรฐานด้านอาชีวอนามัย |