รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ปี 2563 ๓. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม : 5035-0860

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 80

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
20.00
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
80.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจชุดกิจการพิเศษออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัยและจุดติดตั้งตู้เขียว วันละ ๓ ครั้ง เช้า เย็น และกลางคืน ตั้งแต่เดือนตุลาคม - ธันวาคม ๒๕๖๒ จำนวน ๖ จุด ประกอบด้วย ๑) ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๘๙ แยก ๑๒ ๒) ปากซอยจรัญสนิทวงศ์ ๙๕/๑ ๓) ซอยอรุณอมรินทร์ ๔๙ ๔) สะพานลอยหน้าโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ๕) วัดคฤหบดี ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๔ ๖) ซอยสุวิชาญดำริห์ 2. จัดเทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรหน้าโรงเรียน ๗ จุด จุดละ ๒ ครั้ง/วัน ได้แก่ 1) โรงเรียนวัดบางพลัด 2) โรงเรียนบูรณวิทย์ 3) โรงเรียนสตรีบูรณวิทย์ 4) โรงเรียนพิมลวิทย์ 5) โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ 6) โรงเรียนวัดรวกบางบำหรุ 7) โรงเรียนวัดวิมุตยาราม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

๑. จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจชุดกิจการพิเศษออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัยและจุดติดตั้งตู้เขียว วันละ ๓ ครั้ง เช้า เย็น และกลางคืน ตั้งแต่เดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๖๓ จำนวน ๖ จุด ประกอบด้วย ๑) ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๘๙ แยก ๑๒ ๒) ปากซอยจรัญสนิทวงศ์ ๙๕/๑ ๓) ซอยอรุณอมรินทร์ ๔๙ ๔) สะพานลอยหน้าโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ๕) วัดคฤหบดี ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๔ ๖) ซอยสุวิชาญดำริห์ 2. จัดเทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรหน้าโรงเรียน ๗ จุด จุดละ ๒ ครั้ง/วัน ได้แก่ 1) โรงเรียนวัดบางพลัด 2) โรงเรียนบูรณวิทย์ 3) โรงเรียนสตรีบูรณวิทย์ 4) โรงเรียนพิมลวิทย์ 5) โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ 6) โรงเรียนวัดรวกบางบำหรุ 7) โรงเรียนวัดวิมุตยาราม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

๑. จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจชุดกิจการพิเศษออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัยและจุดติดตั้งตู้เขียว วันละ ๓ ครั้ง เช้า เย็น และกลางคืน ตั้งแต่เดือนเมษายน - มืถุนายน ๒๕๖๓ จำนวน ๖ จุด ประกอบด้วย ๑) ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๘๙ แยก ๑๒ ๒) ปากซอยจรัญสนิทวงศ์ ๙๕/๑ ๓) ซอยอรุณอมรินทร์ ๔๙ ๔) สะพานลอยหน้าโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ๕) วัดคฤหบดี ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๔ ๖) ซอยสุวิชาญดำริห์ 2. จัดเทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรหน้าโรงเรียน ๗ จุด จุดละ ๒ ครั้ง/วัน ได้แก่ 1) โรงเรียนวัดบางพลัด 2) โรงเรียนบูรณวิทย์ 3) โรงเรียนสตรีบูรณวิทย์ 4) โรงเรียนพิมลวิทย์ 5) โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ 6) โรงเรียนวัดรวกบางบำหรุ 7) โรงเรียนวัดวิมุตยาราม จากการตรวจตราจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตบางพลัด ไม่พบปัญหาการเกิดอาชญากรรม และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-๑. จัดเจ้าหน้าที่สายตรวจชุดกิจการพิเศษออกตรวจตราจุดเสี่ยงภัยและจุดติดตั้งตู้เขียว วันละ ๓ ครั้ง เช้า เย็น และกลางคืน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๓ จำนวน ๘ จุด ประกอบด้วย ๑) ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๘๙ แยก ๑๒ ๒) ปากซอยจรัญสนิทวงศ์ ๙๕/๑ ๓) ซอยอรุณอมรินทร์ ๔๙ ๔) สะพานลอยหน้าโรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ ๕) วัดคฤหบดี ซอยจรัญสนิทวงศ์ ๔๔ ๖) ซอยสุวิชาญดำริห์ ๗) สวนหลวงพระราม ๘ และบริเวณใต้สะพานพระราม ๘ ๘) ถนนเลียบทางรถไฟ 2. จัดเทศกิจอาสาจราจรอำนวยความสะดวกการจราจรหน้าโรงเรียน ๗ จุด จุดละ ๒ ครั้ง/วัน ได้แก่ 1) โรงเรียนวัดบางพลัด 2) โรงเรียนบูรณวิทย์ 3) โรงเรียนสตรีบูรณวิทย์ 4) โรงเรียนพิมลวิทย์ 5) โรงเรียนเขมะสิริอนุสสรณ์ 6) โรงเรียนวัดรวกบางบำหรุ 7) โรงเรียนวัดวิมุตยาราม จากการตรวจตราจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่เขตบางพลัด ไม่พบปัญหาการเกิดอาชญากรรม และมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

๑. พื้นที่เสี่ยงภัย หมายถึง พื้นที่ที่มีความ ล่อแหลมต่อการเกิดเหตุอาชญากรรม กับ ประชาชน โดยพื้นที่เสี่ยงภัยที่เป็นเป้าหมาย ในการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ นั้น ได้นำรายละเอียดพื้นที่เสี่ยงภัย และวิธีการแก้ไขหรือลดปัจจัยเสี่ยงภัยมาจาก บัญชีพื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของ กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งเกิดจาก การสำรวจและรวบรวมข้อมูลของ คณะทำงานโครงการสำรวจและจัดทำบัญชี พื้นที่เสี่ยงและพื้นที่อันตรายของ กรุงเทพมหานคร ปี พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒. เงื่อนไข (ปัจจัย) ความล่อแหลมต่อการ เกิดอาชญากรรม หมายถึง เหตุ/ช่องทาง/สิ่ง ต่าง ๆ ที่อาจทำให้เกิดเหตุอาชญากรรม หรือ ก่อเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยต่อชีวิตและ ทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ได้ตามสภาพพื้นที่นั้น ๓. การลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม หมายถึง การปรับ แก้ไข หรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อมพื้นที่ เช่น การติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่าง การดูแลตัดต้นไม้ การติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม การทำความสะอาด ฯลฯ รวมทั้งการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่ โดยการจัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตราเพื่อเป็นการป้องปรามการก่อเหตุอาชญากรรมหรือเหตุการณ์ความไม่ปลอดภัยในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัยตามแต่ละสภาพพื้นที่นั้น ๆ ๒. สำนักงานเขต มีการจัดทำแผนการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม และเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยตามเงื่อนไขการลดความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมที่กรุงเทพมหานครกำหนด และดำเนินการตามแผนดังกล่าว ดังนี้ ๒.๑ การปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย ๒.๑.๑ ฝ่ายรักษาความสะอาดมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการดูแลตัดต้นไม้ ทำความสะอาดพื้นที่ และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๑.๒ ฝ่ายโยธามีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มี อำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งหรือซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างติดตั้งหรือซ่อมแซมกล้องวงจรปิด (CCTV) และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๑.๓ ฝ่ายเทศกิจมีการดำเนินการหรือประสานหน่วยงานอื่นที่มีอำนาจหน้าที่ดำเนินการติดตั้งป้ายประชาสัมพันธ์เตือนภัยอาชญากรรม และดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ๒.๒ การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย ๒.๒.๑ มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยจำนวนอย่างน้อย ๒ ครั้ง/จุด/วัน ๒.๒.๒ มีการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบประสิทธิภาพ การทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) ในบริเวณพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน อย่างน้อย ๑ ครั้ง/จุด/วัน ๒.๓ มีการรวบรวมและสรุปผลการดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นรายเดือน

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

๒. สำนักงานเขต ค่าเป้าหมาย ร้อยละ ๑๐๐ โดยแบ่งการให้คะแนน (ร้อยละ) ออกเป็น ๓ ข้อ ได้แก่ ๒.๑ การดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) ๖๐ คะแนน คิดจาก y = ร้อยละของจำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ x = จำนวนรายการที่ได้ดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยสำเร็จ n= จำนวนรายการที่ต้องดำเนินการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อมพื้นที่เสี่ยงภัยตามแผน ๒.๒ การเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวนคะแนน (ร้อยละ) ๒๐ คะแนน คิดจาก y = ร้อยละของผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ x =ผลการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัยที่ดำเนินการได้ n = เป้าหมายการดำเนินการเฝ้าระวังและตรวจตราตามแผน ๒.๓ การรายงานผลการดำเนินงานประจำเดือน จำนวนคะแนน (ร้อยละ) ๒๐ คะแนน คิดจาก การรายงานผลการดำเนินการแก้ไขพื้นที่เสี่ยงภัยที่สำนักงานเขตส่งให้สำนักเทศกิจ โดยแบ่งการให้คะแนนเป็น ๒ ส่วน ดังนี้ ๑. จำนวน ๑๕ คะแนน (ร้อยละ ๗๕) คิดจากความครบถ้วนของรายงาน หากไม่ครบถ้วนจะตัดคะแนนจุดละ ๐.๑ คะแนน y = คะแนน (ร้อยละ) ความครบถ้วนของรายงาน x =จำนวนจุด (คะแนน) ที่ถูกตัดคะแนน n =จำนวนจุดทั้งหมด (คะแนน) ๒. จำนวน ๕ คะแนน (ร้อยละ ๒๕) คิดจากการส่งรายงานทันภายในระยะเวลาที่กำหนด (ดูตราประทับวันที่ลงรับรายงาน) หากพ้นกำหนดจะถูกตัดคะแนนตามตารางด้านล่าง y = คะแนน (ร้อยละ) การส่งรายงานทันภายในระยะเวลาที่กำหนด z =คะแนนที่ถูกหักตามตาราง จำนวนส่งรายงานล่าช้า (เดือนหรือครั้ง) คะแนนที่ถูกหัก (z) 1 - 2 เดือน (ครั้ง) 1 3 - 4 เดือน (ครั้ง) 2 5 - 6 เดือน (ครั้ง) 3 7 - 8 เดือน (ครั้ง) 4 10 เดือน (ครั้ง) ขึ้นไป 5

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ฝ่ายเทศกิจ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน%
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง