รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ : 5038-0772

ค่าเป้าหมาย คะแนน : 5

ผลงานที่ทำได้ คะแนน : 4.367

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(คะแนน)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.50
100
100 / 100
2
60.00
100
100 / 100
3
90.00
100
100 / 100
4
4.37
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการเข้าร่วมประชุมชี้แจงการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่สำนักงานเขตสวนหลวง -ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่สำนักงานเขตสวนหลวงเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่สำนักงานเขตสวนหลวงเป็นประจำทุกเดือน -มีผู้ใช้บริการศูนย์ BFC ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนมีนาคม 2562 จำนวน 27,614 ราย และจากแบบสอบถามความพึงพอใจของการให้บริการ โดยวิธีการสุ่มสำรวจ จำนวน 9,665 ราย มีผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 94.16 -ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากสำนักงานเขตสวนหลวง ดำเนินการโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) ครั้งที่ 1 ในเดือนมกราคม 2562 ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คะแนนรวมเฉลี่ย 4.555

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่สำนักงานเขตสวนหลวงเป็นประจำทุกเดือน -มีผู้ใช้บริการศูนย์ BFC ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 ถึงเดือนมิถุนายน 2562 จำนวน 32,214 ราย และจากแบบสอบถามความพึงพอใจของการให้บริการ โดยวิธีการสุ่มสำรวจ จำนวน 14,497 ราย มีผลความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ อยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95.07 -ผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากสำนักงานเขตสวนหลวง ดำเนินการโดยสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์(นิด้า) ครั้งที่ 1 ในเดือนมกราคม 2562 ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด คะแนนรวมเฉลี่ย 4.555 -ครั้งที่ 2 ในเดือนมิถุนายน 2562 (อยู่ระหว่างรอผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการสำนักงานเขตสวนหลวง จากสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สรุปผลการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการจากสำนักงานเขตสวนหลวง ประจำปีงบประมาณ 2562 ครั้งที่ 1 ได้รับคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.555 และครั้งที่ 2 ได้รับคะแนนความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด เท่ากับ 4.179 โดยภาพรวมผลความพึงพอใจคะแนนเฉลี่ยจากการสำรวจสองครั้ง อยู่ในระดับมากที่สุด ที่คะแนนเฉลี่ย 4.367

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

การสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการบริการของหน่วยงานกรุงเทพมหานคร หมายถึง การสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้มารับบริการโดยตรง หรือบุคลากรจากหน่วยงาน/ส่วนราชการทั้งภายในและภายนอกกรุงเทพมหานคร ที่หน่วยงานนั้นๆ ให้บริการ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

สูตรคำนวณ ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 1 บวก ผลสำรวจความพึงพอใจฯ ครั้งที่ 2 หารด้วย จำนวนครั้งของการสำรวจความพึงพอใจฯ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-ให้หน่วยงานผู้รับการประเมินจัดเตรียมเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้องกับงานบริการของหน่วยงานนั้น ๆ ไว้ที่หน่วยงาน พร้อมให้ผู้ประเมินผลตรวจสอบหรือขอข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการวิเคราะห์และประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับบริการ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๗ – การบริหารจัดการเมืองมหานคร : Management Strategy
:๗.๓ - การบริหารทรัพยากรบุคคล
:๗.๓.๒ กรุงเทพมหานครมีระบบบริหารทรัพยากรบุคคลเข้มแข็งเอื้อต่อความเป็นธรรมสามารถสร้างสมดุล%
:๗.๓.๒.๓ การพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านทรัพยากรบุคคลของกรุงเทพมหานคร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง