รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

(เจรจาบูรณาการตัวที่ 5) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5042-0828

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
7.00
100
100 / 100
2
75.00
100
100 / 100
3
90.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-จัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อเสนอขออนุมัติ/ขอจัดสรรงบประมาณ /ขออนุมัติเงินงวด -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธาระ/สวนหย่อมในพื้นที่จำนวน 2 ไร่ 3 งาน 60 ตร.วา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างเห็บชอบและลงนามในใบสั่งซื้อตามโครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสาธารณะ/สวนหย่อมในพื้นที่ (7 ประเภท) จำนวน 48 ไร่ 3 งาน 69.01ตร.วา คิดเป็น 78,276.03 ตร.ม. - ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (9 ประเภท) จำนวน 8 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินงานจัดซื้อจัดจ้างเบิกจ่ายครบถ้วนตามโครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมในพื้นที่ (7ประเภท)จำนวน 48 ไร่ 3 งาน 69.01ตร.วา คิดเป็น 78,276.03 ตร.ม. - ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (9 ประเภท) จำนวน 12 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมในพื้นที่ (7ประเภท) จำนวน 69 ไร่ 14.07 ตร.วา คิดเป็นพื้นที่ 110,456.27 ตร.ม.(เป้าหมาย 88,806.48 ตร.ม.) -ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว (9 ประเภท) จำนวน 12 แห่ง/ปี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน “ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร” 10 ประเภทแยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1.1 พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม ให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 1.2 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะซึ่งต้องดำเนินการสำรวจรวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี 2. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวสำนักงานเขตรับผิดชอบและดำเนินการได้หลายลักษณะ กล่าวคือ 2.1 สำนักงานเขตเองดำเนินการในรูปแบบที่ใช้และไม่ใช้งบประมาณ 2.2 สนับสนุนหน่วยราชการอื่นๆ/บริษัท ห้างร้าน เอกชน หรือประชาชน ฯลฯ ให้เป็นผู้ดำเนินการในพื้นที่ของตนเอง 2.3 รวบรวมพื้นที่ซึ่งหน่วยงานอื่น บริษัท ห้างร้าน เอกชน วัด หมู่บ้านจัดสรร ฯลฯ ได้มีการจัดทำเป็นพื้นที่สวนตามนิยามของสวนสาธารณะ 7 ประเภทไว้แล้ว 3. สำนักงานเขตจัดทำทะเบียนพื้นที่สวนฯ รายงานเข้าสู่ระบบฯ แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 3.1 สวนซึ่งสำนักงานเขตดำเนินการเอง 3.2 สวนซึ่งดำเนินการโดยหน่วยงานอื่น 3.3 อื่น ๆ เช่น หมู่บ้านจัดสรร วัด บริษัท/ห้างร้าน ภาคเอกชน ประชาชน ฯลฯ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ 1. กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200% 2. เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือร้อยละ 100 3. นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1) รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2) ที่ตั้ง 3) ภาพถ่าย 4. หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละสำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

นโยบายที่ 4 “คุณภาพชีวิตดี” (Care) (1) ปลูกป่าในใจคน ตามศาสตร์พระราชา (2) ปลูกต้นรวงผึ้งเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง