รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ (3) ร้อยละเรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลง : 5042-2009

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 5

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 0

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
90
90 / 100
2
0.00
100
100 / 50
3
0.00
100
100 / 100
4
0.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ข้อมูลการรายงานจากระบบรับแจ้งการกระทำผิดจากประชาชน พบว่าไตรมาสที่ 1 มีผู้กระทำความผิดจำนวน 38 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- ข้อมูลการรายงานจากระบบรับแจ้งการกระทำผิดจากประชาชน พบว่าไตรมาสที่ 2 พบว่ามีผู้กระทำความผิดทั้งหมด 50 ราย โดยดำเนินคดีเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 30,000 บาท - เจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตรวจตราพื้นที่พบผู้กระทำผิด จำนวน 12 ราย โดยดำเนินคดีเปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 15,500 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ข้อมูลจากระบบรับแจ้งการกระทำผิดจากประชาชน รอบไตรมาสที่ 3 ( เม.ย.-มิ.ย. 64) พบว่ามีผู้กระทำผิด รวม 144 ราย - เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจพบผู้กระทำผิด รวม 11 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ข้อมูลจากระบบรับแจ้งการกระทำผิดจากประชาชน รอบไตรมาสที่ 4 (ก.ค.-ก.ย. 64) พบว่ามีผู้กระทำผิด รวม 167 ราย - เจ้าหน้าที่ตรวจพบผู้กระทำผิด จำนวน 2 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1) ผู้กระทำผิด หมายถึง บุคคลที่จอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า 2) เรื่องร้องเรียน หมายถึง เรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวข้องกับการกระทำของบุคคลที่จอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้าในพื้นที่เขต ที่สำนักงานเขตได้รับแจ้งจากประชาชนผ่านทางโทรศัพท์ 3) ทางเท้า หมายถึง พื้นที่ที่ทำไว้สำหรับคนเดินซึ่งอยู่ข้างใดข้างหนึ่งของทาง หรือทั้งสองข้างของทาง หรือส่วนที่อยู่ชิดขอบทางซึ่งใช้เป็นที่สำหรับคนเดิน (พ.ร.บ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522)

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

การวัดผลสัมฤทธิ์ของตัวชี้วัด พิจารณาจากผลการปฏิบัติราชการตามอำนาจหน้าที่ของสำนักงานเขตในการกวดขันจับปรับผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์รถจักยานยนต์ หรือล้อเลื่อนบนทางเท้า และที่สาธารณะอย่างเข้มงวด จริงจังรวมทั้งการดำเนินการตามมาตรการต่างๆ อย่างต่อเนื่องอาทิ การเพิ่มความถี่ในการตรวจพื้นที่โดยเน้นถนนสายหลักที่มีการจราจรหนาแน่นและจุดที่มักมีปัญหาการฝ่าฝืน/กระทำผิด หรือได้รับการร้องเรียนจากประชาชนจำนวนมากฯลฯ วิธีการคำนวณ ร้อยละเรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงใช้สูตรคำนวณ ดังนี้ y= ((x1- x2 )× 100)/x1 y = ร้อยละเรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลง x1 = จำนวนเรื่องร้องเรียนปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 x2 = จำนวนเรื่องร้องเรียนปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เกณฑ์การคิดคะแนน • เรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงร้อยละ 5 ขึ้นไป เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา คิดคะแนนเป็นร้อยละ100ของน้ำหนักคะแนน • เรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงร้อยละ 4 – 4.99 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาคิดคะแนนเป็นร้อยละ80ของน้ำหนักคะแนน • เรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงร้อยละ 3 – 3.99 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาคิดคะแนนเป็นร้อยละ60ของน้ำหนักคะแนน • เรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงร้อยละ 2 – 2.99 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาคิดคะแนนเป็นร้อยละ40ของน้ำหนักคะแนน • เรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้าลดลงร้อยละ 1 – 1.99 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมาของน้ำหนักคะแนน

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

เอกสารหลักฐาน 1. รายงานการออกตรวจพื้นที่ 2. เอกสารรายงานผลการดำเนินงานเสนอต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น 3. สถิติเรื่องร้องเรียนผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำแนกรายเดือน

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร%
:๑.๓.๑.๒ ลดการกระทำผิดกฎจราจร

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง