๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด ๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 |
อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานจากศูนย์บริการสาธารณสุข เพื่อนำมาประมวลผลร่วมกับข้อมูลในระบบ บสต.
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ดำเนินการรับแจ้งข่าวและลงสอบสวนโรค COVID-19 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :3.92 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
- ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี (เป้าหมายร้อยละ 100) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2563 มีสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี จำนวน 791 ราย จากจำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 20,193 ราย คิดเป็นร้อยละ 3.92 (ป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร มีอายุการรับรอง 1 ปี) - ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตรวจอาหารปลอดภัยของสถานประกอบการที่ไม่มีใบอนุญาต (เป้าหมายร้อยละ 70) ผลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 ถึงวันที่ 15 ธันวาคม 2563 สถานประกอบการอาหารที่ไม่มีใบอนุญาตทั้งหมด 812 ราย ได้รับการตรวจคุณภาพอาหาร จำนวน 482 ราย คิดเป็นร้อยละ 59.36 - ร้อยละความสำเร็จของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) (เป้าหมายร้อยละ 20) อยู่ระหว่างดำเนินการตรวจแนะนำสถานประกอบการอาหารให้มีการพัฒนาตามเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมากหรือดีเยี่ยม ซึ่งสถานประกอบการอาหารต้องจัดให้มีการจัดบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) -//-
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน และติดตามผลการดำเนินงานของพื้นที่
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :94.00 ผลงาน :89.50 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการและงบประมาณ (ก่อนหน้านี้ได้เสนอขออนุมัติโครงการ แต่เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโควิด-19 จึงได้มีการปรับกิจกรรมให้เหมาะกับสถานการณ์ และเสนออนุมัติโครงการใหม่) จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่า จำนวนผู้ป่วยและผู้สูงอายุได้รับการส่งต่อจาก BMA Home Ward Referral มีจำนวน 5489 ราย ได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้านตามเกณฑ์ 4946 ราย คิดเป็นร้อยละ 89.50
๑.๑ - ปลอดมลพิษ๑.๑.๓ กรุงเทพมหานครมีฝุ่นละอองอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ดำเนินการรวบรวมแบบสำรวจข้อมูลมลพิษอากาศจากการประกอบกิจการโรงแรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (หม้อไอน้ำ) โรงแรมส่งแบบสำรวจ มา 309 แห่ง พบว่า มีหม้อไอน้ำ 52 แห่งและมี Cooling Tower 76 แห่ง - ลงพื้นที่สำรวจและศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของการจัดการหม้อไอน้ำและระบบการการป้องกันเชื้อ Legionella ในสถานประกอบกิจการโรงแรม
๑.๑ - ปลอดมลพิษ๑.๑.๔ กรุงเทพมหานครมีระดับเสียง ค่าเฉลี่ย ๒๔ ชั่วโมง (Leq) อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :50.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
1. รับเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบการตรวจสอบเรื่องร้องเรียนของสำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม จำนวน 2 เรื่อง 2. มอบหมายงานตามลำดับ 3. ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมและประสานนัดหมายผู้เกี่ยวข้องก่อนลงพื้นที่แล้ว จำนวน 1 เรื่อง 4. ลงพื้นที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงตามที่ร้องเรียนและตรวจวัดด้วยเครื่องมือวิทยาศาสตร์แล้ว จำนวน 1 เรื่อง 5. วิเคราะห์ผล เปรียบเทียบผลตามข้อกฎหมาย สรุปผลและจัดทำรายงานเสนอผู้บังคับบัญชาตามลำดับแล้ว จำนวน 1 เรื่อง 6. เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผลแล้ว จำนวน 1 เรื่อง - วิธีการคำนวณ เรื่องร้องเรียนได้รับการตรวจสอบและรายงานผล 1 เรื่อง X 100 หารด้วยเรื่องร้องเรียนเข้าสู่ระบบฯ 2 เรื่อง (1 เรื่อง X 100 / 2 เรื่อง = 50 %)
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :65.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างประมวลผลข้อมูลในระบบ NISPA
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :65.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
- อยู่ระหว่างทำหนังสือประสานสำนักงานเขตสำรวจจำนวนอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - อยู่ระหว่างรวบรวมผลการดำเนินงานของอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร - อยู่ระหว่างจัดทำโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครในสถานศึกษา โดยนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ จะร่วมเป็นอาสาสมัครดำเนินการจัดกิจกรรมป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :55.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างประสานโรงเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 1 สังกัดกรุงเทพมหานคร ดำเนินการทำแบบประเมินภูมิคุ้มกันยาเสพติดและสารเสพติดสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
วิเคราะห์ข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการนักเรียน /จัดทำแผนการดำเนินงานกิจกรรมป้องกันโรคอ้วนและภาวะทุพโภชนาการในโรงเรียน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ดำเนินการขออนุมัติโครงการฯ /จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานให้กับหัวหน้าพยาบาลหรือแกนนำที่ผ่านการอบรมโครงวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพ ทั้ง 69 แห่ง /จัดทำหนังสือชี้แจงการดำเนินงานโครงการวัยทำงานสดใส ใส่ใจสุขภาพและติดต่อประสานงานคณะกรรมการเพื่อเชิญเป็นคณะกรรมการตัดสิน /จัดทำร่างหลักเกณฑ์การประกวด
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง เป้าหมาย :24.00 ผลงาน :11.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ครั้งที่ 1 : วันที่ 15 ต.ค. 2563 จัดประชุม “เวที KICK OFF ธรรมนูญสุขภาพระดับเขต พื้นที่กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแมจิก 2 ชั้น 2 โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น หลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 106 คน ครั้งที่ 2 : วันที่ 19 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2563” ณ ห้องประชุม ชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 3 : วันที่ 27 ต.ค. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการเขตสุขภาพเพื่อประชาชน ครั้งที่ 4/2563” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวน ผู้เข้าร่วมกิจกรรม 46 คน ครั้งที่ 4 : วันที่ 4 พ.ย. 2563 จัดประชุม “รับฟังความคิดเห็นต่อร่างธรรมนูญสุขภาพกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมราชเทวี โรงแรมเอเชีย เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 5 : วันที่ 6 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “รับฟังความคิดเห็นประเด็นหาบเร่” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 6 : วันที่ 13 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 7 : วันที่ 25 พ.ย. 2563 จัดประชุม “คณะกรรมการสนับสนุนการจัดและขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2563” ณ โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 60 คน ครั้งที่ 8 : วันที่ 26 พ.ย. 2563 จัดกิจกรรม “เวทีสมัชชาสุขภาพ กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น B2 อาคาร ไอราวัฒพัฒนา ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 200 คน ครั้งที่ 9 : วันที่ 14-15 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพและกลไกขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพเขตในพื้นที่นำร่อง ๑๓ เขต กรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมแกรนด์ฮอล์ 2 โรงแรมรามาการ์เด้น ถนนวิภาวดีรังสิต เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์, สถาบันพัฒนาองค์องค์กรชุมชน (องค์กรมหาชน) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 150 คน ครั้งที่ 10 : วันที่ 16-17 ธ.ค. 2563 จัดกิจกรรม “ประชุม ZOOM เวทีสมัชชาแห่งชาติ” ณ ห้องประชุม 2 ชั้น 10 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน ครั้งที่ 11 : วันที่ 21 ธ.ค. 2563 จัดประชุม “เลขานุการคณะกรรมการพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครสาธารณสุขกรุงเทพมหานคร” ณ ห้องประชุมชั้น 8 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ดินแดง โดยมีภาคีเครือข่ายที่ร่วมดำเนินการ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร, สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.), สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุข จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม 20 คน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 จากปีที่มา เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างรออนุมัติโครงการฯ และขออนุมัติใช้เงินนอกงบประมาณ (บัญชี) โครงการสร้างหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าของสำนักอนามัย
-
-
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ดำเนินการคัดกรองภาวะซึมเศร้าผู้รับบริการในคลินิกครอบครัวอบอุ่น จำนวน 973 คน พบกลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าจำนวน 23 คน กลุ่มเสี่ยงภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 100 (ข้อมูล พฤศจิกายน 2563)
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :215,000.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :36.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :60.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์สนับสนุนการดำเนินงานด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
1. สรรหาและประสานผู้รับจ้างเหมาจัดทำสื่อรณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี 2. แต่งตั้งคณะกรรมการจ้างเหมาจัดทำสื่อรณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :40.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กำหนดแนวทางการดำเนินงาน ปี 2564
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :4.90 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่ตั้งเป้าหมายให้เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน ปี 2564 จำนวน 33,000 คน จำนวนชายมีเพศสัมพันธ์กับชายที่เข้าถึงข้อมูลความรู้และอุปกรณ์ป้องกัน จำนวน 1,617 คน คิดเป็นร้อยละ 4.90
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :97.00 ผลงาน :100.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาทั้งหมด ของศูนย์บริการสาธารณสุขนำร่อง 8 แห่ง จำนวน 22 คน จำนวนผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้าเกณฑ์การรักษาได้รับยาต้านไวรัส ในศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 100
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :89.00 ผลงาน :85.91 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ผลสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรคทุกประเภทรอบ 1/2563 จำนวนผู้ป่วยที่นำมาประเมิน 149 คน มีผลการรักษาสำเร็จ 128 คน คิดเป็นร้อยละ 85.91
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ไม่เกินเปอร์เซ็นไทล์ที่ 80 ของข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ดำเนินการสำรวจค่า CI HI ตามแผน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :75.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
วางแผนการดำเนินงาน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
วางแผนการดำเนินงาน
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๒ โรคติดต่อที่สำคัญในเมืองได้รับการเฝ้าระวังและควบคุมไม่ให้ระบาดไปในวงกว้าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ราย เป้าหมาย :0.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
6.1 จำนวนสุนัขและสัตว์เลี้ยงที่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า(ผลผลิต) ผลการดำเนินการฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสุนัขและสัตวเลี้ยงของประชาชน ในเขตกรุงเทพมหานคร ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 6,967 ตัว แบ่งเเป็นสุนัข จำนวน1,717 ตัว แมว จำนวน5,248 ตัว และสัตว์อื่น ๆ จำนวน 2 ตัว 6.2 ตรวจพบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้าในตัวอย่างซากสุนัขและแมวที่ส่งตรวจลดลง 10% ของค่า Median 5 ปีย้อนหลัง(ผลลัพธ์) (ค่า Median 5 ปีย้อนหลัง 5 ปี = 32 case ดังนั้นการตรวจพบลดลง 10% = 3.2 case ฉะนั้นตามตัวชี้วัด ปีงบฯ 64 จึงตรวจพบได้ไม่เกิน 32-3.2 = 28.8 case ปัดเศษขึ้น) ผลการส่งตัวอย่างซากสุนัขและแมวตรวจทางห้องปฏิบัติการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ยังไม่พบเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า 6.3 อัตราป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า (ผลลัพธ์) ผลการดำเนินงานตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ยังไม่พบประชาชนในเขตกรุงเทพมหานครป่วยตายด้วยโรคพิษสุนัขบ้า...//
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ศูนย์บริการสาธารณสุข เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับอนุมัติโครงการ การพัฒนา ประเมินและรับรองคุณภาพศูนย์บริการสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยดำเนินการเสนอโครงการ เพื่อของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการจ้างที่ปรึกษา เพื่อเตรียมดำเนินการลงนามสัญญาจ้างที่ปรึกษา
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :อย่างน้อย 20 เรื่อง เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
1. ขออนุมัติโครงการ แผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2564 2. จัดเตรียมเอกสารประกอบการขออนุมัติเงินประจำงวด 3. ประชาสัมพันธ์การส่งผลงานเข้าร่วมโครงการนวัตกรรทางการแพทย์และสาธารณสุข สำนักอนามัย ปี 2564 4. จัดเตรียมเอกสารเกี่ยวกับการจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ในโครงการฯ
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๓ คนกรุงเทพฯทุกคนมีโอกาสได้รับบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที่เท่าเทียม มีคุณภาพ แ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :58.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
จัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาบริการสุขภาพปฐมภูมิของสำนักอนามัย ครั้งที่ 1 วันที่ 24 ธันวามคม 2563 มอบหมายให้ทุก ศบส.69 แห่ง เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พรบ.ระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ.2562 และมอบประธานกลุ่มศูนย์บริการสาธารรสุข สำรวจแพทย์ประจำของศูนย์บริการสาธารณสุข ที่ยังไม่ผ่านการอบรมแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัว
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ตรวจวิเคราะห์โดยชุดทดสอบเบื้องต้น หาสารเคมีปนเปื้อนในอาหาร ได้แก่ ตรวจหา สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน สารฟอกขาว สารกันรา สีสังเคราะห์ กรดแร่อิสระในน้ำส้มสายชู ยาฆ่าแมลง และสารโพลาร์ในน้ำมันทอดอาหาร โดยผลการตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร ระหว่างเดือนตุลาคม - เดือนธันวาคม 2563 มีการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารตรวจวิเคราะห์ทั้งสิ้น จำนวน 12,907 ตัวอย่าง ไม่พบการปนเปื้อน จำนวน 12,907 ตัวอย่าง (ร้อยละ 100)-//-
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :95.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างดำเนินการยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต ดำเนินการสุ่มเก็บตัวอย่างอาหารพร้อมบริโภคในกลุ่มเป้าหมาย ดังนี้ แผงลอย ตลาด ร้านอาหาร ซูเปอร์มาร์เก็ต และมินิมาร์ท ส่งตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อโรคที่เป็นอันตรายในระบบทางเดินอาหาร 3 ชนิด ได้แก่ Salmonella spp. , Staphylococcus aureus และ Vibrio cholerae ปัจจุบันอยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำแผน กำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารทางห้องปฏิบัติการ และขออนุมัติงบประมาณเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างการประกาศเชิญชวนลงเว็ปไซต์ของกรมบัญชีกลาง และยื่นซองประกวดราคาจ้างเหมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหาร-//-
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจกระเช้าของขวัญปีใหม่ตามหลักเกณฑ์ของกรุงเทพมหานคร ฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล สำนักงานเขตทั้ง 50 เขต อยู่ระหว่างดำเนินการสุ่มตรวจสถานประกอบการที่จำหน่ายกระเช้าของขวัญในช่วงเทศกาลปีใหม่ ปี พ.ศ. 2564 ที่เข้าร่วมโครงการควบคุมคุณภาพสินค้าของกรุงเทพมหานคร ในระหว่างวันที่ 8 ธันวาคม 2563 - 28 กุมภาพันธ์ 2564 กรณีที่ผู้บริโภคไม่พึงพอใจในคุณภาพของสินค้าในกระเช้าของขวัญปีใหม่สามารถนำมาแลกเปลี่ยนหรือคืนได้ภายในวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 -//-
๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
- กิจกรรมส่งเสริมศักยภาพในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตรวจวิเคราะห์คุณภาพอาหารของกรุงเทพมหานคร ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหารสังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านการสุขาภิบาลอาหาร จำนวน 198 คน จัดกิจกรรมฯ เป็นรายกลุ่มเขต จำนวน 6 กลุ่มเขต กลุ่มเขตละ 1 ครั้งๆ ละ 1 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมีนาคม 2564 การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน ซึ่งขณะนี้ผลการดำเนินงานอยู่ระหว่างขั้นตอนที่ 1 ได้แก่ การดำเนินการจัดทำหลักสูตร กำหนดการฝึกอบรม กำหนดคุณสมบัติของผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ รวมไปถึงการจัดทำแผนการดำเนินกิจกรรมฯ - จัดฝึกอบรมหลักสูตรวิชาการด้านสุขาภิบาลอาหาร โดยมีผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 126 คน ประกอบด้วยข้าราชการกรุงเทพมหานครสามัญประเภทวิชาการ ตำแหน่งนักวิชาการสุขาภิบาล ระดับปฏิบัติการ-ชำนาญการพิเศษ และประเภททั่วไป ตำแหน่งเจ้าพนักงานสาธารณสุข ระดับปฏิบัติงาน-ชำนาญงาน สังกัดฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล 50 สำนักงานเขต สำนักงานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม และกองสุขาภิบาลอาหาร สำนักอนามัย การดำเนินการฝึกอบรม ประกอบด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมการ ขั้นตอนการดำเนินการ และขั้นตอนการประเมินผลและรายงาน จัดอบรมจำนวน 1 รุ่น รูปแบบการฝึกอบรมแบบไป-กลับ เป็นเวลา 2 วัน กำหนดการฝึกอบรมเดือนมีนาคม 2564 -//-
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :78.23 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
-ขณะนี้อยู่ระหว่างการขออนุมัติโครงการและงบประมาณ เพื่อดำเนินงานในปีงบประมาณ 2564 ส่วนการถ่ายโอนข้อมูลจาก สปสช. อยู่ระหว่างการถ่ายโอนมา eHHC-BKK -จากการดำเนินงานที่ผ่านมา พบว่าจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลในภาคีเครือข่าย สามารถเข้าถึงบริการและประสานงานผ่านศูนย์ส่งต่อเพื่อการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จำนวน 151 แห่ง (ศูนย์บริการสาธารณสุข 68 แห่ง และโรงพยาบาลภาคีเครือข่าย 83 แห่ง) จากจำนวนศูนย์บริการสาธารณสุขและโรงพยาบาลภาคีเครือข่ายทั้งหมด 193 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 78.23
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :99.11 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กองการพยาบาลสาธารณสุข ได้รับการอนุมัติโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ประจำปีงบประมาณ 2564 ได้เสนอของบประมาณ และอยู่ระหว่างการดำเนินงาน ดังนี้ 1. จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน 2. ประชาสัมพันธ์และรวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย ในกิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้สมัครเข้ารับการอบรมจากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง รอบที่ 3 และกิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทางสุขภาพ ในการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ (Seamless Care) เพื่อการดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร อยู่ระหว่างการดำเนินการรวบรวมรายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม จากศูนย์บริการสาธารณสุขทั้ง 69 แห่ง ผู้ป่วยและผู้สูงอายุใน Home Ward รายใหม่ มีจำนวน 226 ราย ได้รับการเฝ้าระวังภาวะเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนจากผู้ดูแลฯ จำนวน 224 ราย คิดเป็นร้อยละ 99.11
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
กิจกรรมที่ 5 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) ในโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้ดำเนินการจ้างบุคคลภายนอกตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติหน้าที่ผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างดำเนินการจ้างเหมาพิมพ์เอกสารการประเมิน ติดตาม กำกับงานการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านสำหรับผู้ตรวจการพยาบาล และขณะนี้ได้เตรียมกำหนดตารางแผนงานออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว ด้วยสถานการณ์โรคระบาดโรควิค 19 จึงจะเริ่มออกตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เป็นต้นไป
๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร๓.๑.๓ ผู้สูงอายุได้รับการดูแลสุขภาพอย่างครบวงจรเพื่อคุณภาพชีวิตที่ด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
โครงการจัดหาอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหวแก่ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว โดย 1. วางแผนการปฏิบัติงานและจัดประชุมชี้แจงนักสังคมสงเคราะห์ ศูนย์บริการสาธารณสุข 2. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ค้นหา คนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ประสบปัญหาทางการเคลื่อนไหว เพื่อประเมินความจำเป็น และจัดทำทะเบียนผู้ขอรับความช่วยเหลือ 3. นักสังคมสงเคราะห์ศูนย์บริการสาธารณสุข ทั้ง 69 แห่ง ส่งรายชื่อผู้ที่มีความจำเป็นและต้องการได้รับอุปกรณ์ช่วยเหลือทางการเคลื่อนไหว โครงการเสวนา มิติสุขภาพกับสถานการณ์ครอบครัวในปัจจุบัน 1. วางแผนการดำเนินงานและเตรียมการประชุมเพื่อขอความเห็นชอบและขออนุมัติงบประมาณ กิจกรรมช่วยเหลือผู้ถูกกระทำและ/หรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวของศูนย์จัดการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว 1. วางแผนการดำเนินงาน 2. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานแก่ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง 3. ปรับปรุงรายงานการดำเนินงาน
๕.๓ - การกระจายอำนาจสู่ประชาชน๕.๓.๑ ลดบทบาทส่วนกลางลงเหลือภารกิจหลักเท่าที่ต้องทำเท่าที่จำเป็นและให้อำานาจในการกำหนดนโ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์ |
อยู่ระหว่างขออนุมัติโครงการ
๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :3.03 ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดงานประจำ |
มีโครงการงานประจำทังสิ้น 33 โครงการ กำลังดำเนินการ จำนวน 32 โครงการ แล้วเสร็จ จำนวน 1 โครงการ