ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : 2564 ของหน่วยงาน : 23000000

Home Home SED


๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(1) 1.1 ร้อยละของชาวกรุงเทพมหานครออกกำลังกายตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
1.1 ร้อยละของชาวกรุงเทพมหานครออกกำลังกายตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :82.62

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
82.62

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำแบบสอบถาม และแบบสอบถามออนไลน์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ของผู้รับบริการในศูนย์เยาวชน และศูนย์กีฬา ซึ่งทำการสำรวจผ่านแบบสอบถามออนไลน์ โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างรวมจำนวน 5,648 คน แบ่งออกเป็นผู้รับบริการในศูนย์เยาวชน จำนวน 4,511 คน และศูนย์กีฬา จำนวน 1,137 คน ขณะนี้ มีผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน์แล้ว จำนวน 2,184 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ของผู้รับบริการในศูนย์เยาวชน และศูนย์กีฬา ซึ่งทำการสำรวจผ่านแบบสอบถามออนไลน์ โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างรวมจำนวน 5,648 คน แบ่งออกเป็นผู้รับบริการในศูนย์เยาวชน จำนวน 4,511 คน และศูนย์กีฬา จำนวน 1,137 คน ขณะนี้ มีผู้ตอบแบบสอบถามออนไลน์แล้ว จำนวน 4,525 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาของประชาชนกรุงเทพมหานคร โดยสำรวจจากผู้ใช้บริการในศูนย์บริการสังกัดสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว จำนวน 48 แห่ง (ศูนย์เยาวชน 36 แห่ง ศูนย์กีฬา 12 แห่ง) จำนวน 4,533 คน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 56.0 และเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 43.7 มีอายุระหว่าง 36-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 35.78 รองลงมาคือ มีอายุ 60 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 20.54 และมีอายุระหว่าง 18-25 ปี คิดเป็นร้อยละ 17.05 โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ (ค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.50-22.99) คิดเป็นร้อยละ 43.97 รองลงมาคือ มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 1 (ค่าดัชนีมวลกาย อยู่ระหว่าง 23.00-24.99) คิดเป็นร้อยละ 20.43 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 2 (ค่าดัชนีมวลกาย อยู่ระหว่าง 25.00-29.99) คิดเป็นร้อยละ 19.44 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในน้ำหนักน้อย (ค่าดัชนีมวลกายน้อยกว่า 18.50) คิดเป็นร้อยละ 11.1 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 3 (ค่าดัชนีมวลกายตั้งแต่ 30 ขึ้นไป) คิดเป็นร้อยละ 4.83 เมื่อเปรียบเทียบค่าดัชนีมวลกาย จำแนกตามช่วงอายุ พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจในทุกช่วง อายุ ส่วนใหญ่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ค่าดัชนีมวลกาย อยู่ระหว่าง 18.50-22.99) โดยกลุ่มอายุที่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติสูงที่สุด คือ กลุ่มอายุ 18-25 ปี (ร้อยละ 49.74) และเมื่อพิจารณาถึงกลุ่มที่เริ่มมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 1 และภาวะอ้วนระดับ 2 พบว่าเป็นกลุ่มอายุ 26-35 ปี อายุ 36-60 ปี และอายุ 60 ปีขึ้นไป มากที่สุด พฤติกรรมการออกกำลังกายและเล่นกีฬาของประชาชนกรุงเทพมหานคร ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 49.35 รองลงมาคือ ออกกำลังกาย/เล่นกีฬามากกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 33.27 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 9.44 และไม่ได้ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา คิดเป็นร้อยละ 7.94 โดยผู้ที่ไม่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬาโดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าไม่มีเวลา คิดเป็นร้อยละ 41.57 รองลงมาคือ ขาดแรงจูงใจ คิดเป็นร้อยละ 26.31 สภาพแวดล้อม/ภูมิอากาศไม่เอื้ออำนวย คิดเป็นร้อยละ 19.08 ไม่มีสถานที่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา คิดเป็นร้อยละ 10.24 และเหตุผลอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 2.8 เมื่อพิจารณาตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง ซึ่งควรออกกำลังกาย 15–30 นาที ต่อวัน หรือ 150 นาที ต่อสัปดาห์ (อย่างน้อย 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์) นั้น พบว่าผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ออกกำลังกายมากกว่า 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 82.62 และออกกำลังกายเฉลี่ยต่อสัปดาห์น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 9.44 ซึ่งผู้ตอบแบบสำรวจที่เป็นผู้ที่ออกกำลังกาย โดยส่วนใหญ่จะออกกำลังภายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วมากกว่า 1 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 89.52 และผู้ตอบแบบสำรวจที่เคยออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) ส่วนใหญ่จะออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) มากกว่า 2 ชั่วโมง คิดเป็น ร้อยละ 19.68 ช่วงเวลาที่ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใญ่ออกกำลังกายมากที่สุด เป็นช่วงเวลาเย็น คิดเป็นร้อยละ 46.16 รองลงมาคือ ช่วงเช้า คิดเป็นร้อยละ 18.26 ช่วงที่ว่างจากภารกิจ คิดเป็นร้อยละ 17.92 ช่วงกลางวัน คิดเป็นร้อยละ 10.26 และช่วงกลางคืน คิดเป็นร้อยละ 7.39 ตามลำดับ สถานที่ที่ใช้ในการออกกำลังกายโดยส่วนใหญ่ผู้ตอบแบบสำรวจออกกำลังกายที่สนามกีฬา/ศูนย์กีฬา/ศูนย์เยาวชน คิดเป็นร้อยละ 43.54 รองลงมาคือ ออกกำลังกายในสวนสาธารณะ คิดเป็นร้อยละ 17.33 ออกกำลังกายที่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 14.88 ออกกำลังกายในฟิตเนส/ยิมส์ คิดเป็นร้อยละ 8.86 ออกกำลังกายที่ลานกีฬาหรือลานอเนกประสงค์ภายในชุมชน/หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 8.31 ออกกำลังกายที่โรงเรียน/สถานศึกษา/มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 3.92 และออกกำลังกายที่ทำงาน คิดเป็นร้อยละ 3.17 ตามลำดับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(2) 01. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับดัชนีมวลกายแก่ประชาชน
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
01. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับดัชนีมวลกายแก่ประชาชน

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
25.00

0 / 0
3
50.00

0 / 0
4
100.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการจัดเก็บค่าดัชนีมวลกายของสมาชิกศูนย์เยาวชน และศูนย์กีฬา เดือนตุลาคม - พฤศจิกายน 2563 จำนวน 4,408 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ จำนวน 1,877 คน คิดเป็นร้อยละ 42.58 รองลงมาคือ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 967 คน คิดเป็นร้อยละ 21.94 ภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 810 คน คิดเป็นร้อยละ 18.38 ภาวะอ้วนระดับ 3 จำนวน 334 คน คิดเป็นร้อยละ 7.58 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักน้อย จำนวน 420 คน คิดเป็นร้อยละ 9.53 ตามลำดับ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดเก็บค่าดัชนีมวลกายของสมาชิกศูนย์เยาวชน และศูนย์กีฬา เดือนตุลาคม 2563 - กุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 15,750 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ จำนวน 6,621 คน คิดเป็นร้อยละ 42.04 รองลงมาคือ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 3,656 คน คิดเป็นร้อยละ 23.21 ภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 3,148 คน คิดเป็นร้อยละ 19.99 ภาวะอ้วนระดับ 3 จำนวน 1,211 คน คิดเป็นร้อยละ 7.69 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักน้อย จำนวน 1,114 คน คิดเป็นร้อยละ 7.07 ตามลำดับ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดเก็บค่าดัชนีมวลกายของสมาชิกศูนย์เยาวชน และศูนย์กีฬา เดือนตุลาคม 2563 - พฤษภาคม 2564 จำนวน 22,406 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ จำนวน 9,401 คน คิดเป็นร้อยละ 41.96 รองลงมาคือ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 5,213 คน คิดเป็นร้อยละ 23.27 ภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 4,469 คน คิดเป็นร้อยละ 19.95 ภาวะอ้วนระดับ 3 จำนวน 1,718 คน คิดเป็นร้อยละ 7.67 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักน้อย จำนวน 1,605 คน คิดเป็นร้อยละ 7.16 ตามลำดับ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิด 19 ทำให้ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬาในสังกัดสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ปิดให้บริการ และบางแห่งยังใช้เป็นสถานที่ศูนย์พักคอยสำหรับผู้ป่วยโควิด 19 ศูนย์เยาวชนจึงมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย โดยการทำคลิปวิดิโอเผยแพร่ผ่านทาง facebook ของศูนย์เยาวชนเป็นประจำทุกเดือน การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับค่าดัชนีมวลกาย และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องของศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา โดยในช่วงที่ศูนย์บริการด้านกีฬาและนันทนาการ ปิดให้บริการเนื่องจากสถานการณ์โควิด จึงได้มีการประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับค่าดัชนีมวลกาย และการออกกำลังกายอย่างถูกต้อง โดยการจัดทำคลิปสื่อการสอนผ่านทาง Facebook ของศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ซึ่งจะขอยกตัวอย่าง ดังนี้ 1. ศูนย์สร้างสุขทุกวัยบางนา ประชาสัมพันธ์ความรู้ค่าดัชนีมวลกาย BMI (Body Mass Index) ตาม link นี้ https://www.facebook.com/bangna.yct/photos/pcb.2937583713146911/2937583586480257/ กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ตาม link นี้ https://www.facebook.com/bangna.yct/videos/3123007651266334 กิจกรรมว่ายน้ำขั้นพื้นฐาน ตาม link นี้ https://www.facebook.com/bangna.yct/videos/386631573092108 2. ศูนย์สร้างสุขทุกวัยลุมพินี ประชาสัมพันธ์ความรู้ค่าดัชนีมวลกาย BMI (Body Mass Index) ตาม link นี้ https://www.facebook.com/photo/?fbid=4270293919706067&set=pcb.4270297216372404 สอนการออกกำลังกายบริเวณหน้าท้อง ตาม link นี้ https://www.facebook.com/104312174574131/videos/215324510454374 การสอนออกกำลังกาย แบบเผาผลาญไขมัน ตาม link นี้ https://www.facebook.com/104312174574131/videos/340114460916159 การประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับค่าดัชนีมวลกาย และการออกกำลังกายอย่างถูกต้องของศูนย์กีฬา 3. ศูนย์กีฬามิตรไมตรี https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=845577229483374&id=100020933141084 4. ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา https://m.facebook.com/story.php?story_fbid=388950152795987&id=100050430170891 5. ศูนย์กีฬาประชานิเวศน์ https://www.facebook.com/211822942217855/posts/4516128178453955/

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(3) 02. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการจัดเก็บดัชนีมวลกาย (Body Mass Index (BMI)) ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
02. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการจัดเก็บดัชนีมวลกาย (Body Mass Index (BMI)) ที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

หน่วยนับ :เครือข่าย

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เครือข่าย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดเตรียมข้อมูลเพื่อเตรียมเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดจัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อร่วมหารือแนวทางในการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักการศึกษา สำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักงานเขต ในวันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 16 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการเก็บข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-30 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการร่วมมือกับเครือข่าย จำนวน 5 เครือข่าย ประกอบด้วย สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักการศึกษา และสำนักงานเขต 50 เขต เพื่อจัดเก็บดัชนีมวลกาย (Body Mass Index (BMI)) ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 20 ปี ขึ้นไป โดยจัดเก็บข้อมูลจากประชาชนในพื้นที่เขต 50 เขต ผู้รับบริการในศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ ผู้ใช้บริการในสวนสาธารณะ และข้าราชการและบุคลากรในสังกัดสำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักการศึกษา และสำนักงานเขต 50 เขต โดยจัดเก็บข้อมูลจำนวนทั้งสิ้น 19,167 คน พบว่า ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ จำนวน 6,731 คน คิดเป็นร้อยละ 35.12 รองลงมาคือ มีดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 2 จำนวน 5,043 คน คิดเป็นร้อยละ 26.31 ภาวะอ้วนระดับ 1 จำนวน 3,666 คน คิดเป็นร้อยละ 19.13 ภาวะอ้วนระดับ 3 จำนวน 2,437 คน คิดเป็นร้อยละ 12.71 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักน้อย จำนวน 1,290 คน คิดเป็นร้อยละ 6.73 ตามลำดับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(4) 03. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูล ผู้ที่ออกกำลังกายและเล่นกีฬาได้ตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
03. จำนวนเครือข่ายความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูล ผู้ที่ออกกำลังกายและเล่นกีฬาได้ตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง

หน่วยนับ :เครือข่าย

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(เครือข่าย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดเตรียมข้อมูลเพื่อเตรียมเชิญหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมประชุม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

กำหนดจัดประชุมเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องเพื่อร่วมหารือแนวทางในการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักการศึกษา สำนักสิ่งแวดล้อม และสำนักงานเขต ในวันศุกร์ที่ 2 เมษายน 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 16 อาคารธานีนพรัตน์ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการเก็บข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-30 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกาย/เล่นกีฬาของประชาชนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร โดยความร่วมมือในการจัดเก็บข้อมูลจาก 5 เครือข่าย ประกอบด้วย สำนักการแพทย์ สำนักอนามัย สำนักสิ่งแวดล้อม สำนักการศึกษา และสำนักงานเขต 50 เขต มีกลุ่มเป้าหมายเป็นข้าราชการและบุคลากรในสังกัด และประชาชนที่มารับบริการในสำนักงานเขต ศูนย์บริการสาธารณสุข โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ และสวนสาธารณะ ผ่านแบบสอบถามออนไลน์ มีผู้ตอบแบบสำรวจจำนวนทั้งสิ้น 19,715 คน มีสรุปผลการสำรวจเป็นดังนี้ ข้อมูลทั่วไป ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่เป็นข้าราชการ/บุคลากรสังกัดสำนักอนามัย คิดเป็นร้อยละ 39.85 รองลงมาคือ เป็นประชาชนทั่วไป คิดเป็นร้อยละ 37.54 เป็นข้าราชการ/บุคลากรสังกัดสำนักการแพทย์ คิดเป็นร้อยละ 10.53 ข้าราชการ/บุคลากรสังกัดสำนักการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 7.13 และข้าราชการ/บุคลากรสังกัดสำนักสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 4.42 ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 65.10 และเป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ 34.83 มีอายุระหว่าง 36 - 60 ปี คิดเป็นร้อยละ 61.96 รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 26 - 35 ปี คิดเป็นร้อยละ 24.90 อายุระหว่าง 18 - 25 ปี คิดเป็นร้อยละ 8.88 อายุ 60 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 2.55 และอายุต่ำกว่า 18 ปี คิดเป็นร้อยละ 1.71 ส่วนใหญ่พักอาศัยอยู่ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 88.79 และไม่ได้พักอาศัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร คิดเป็นร้อยละ 9.43 ค่าดัชนีมวลกาย ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ คิดเป็นร้อยละ 35.60 รองลงมาคือ มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 2 คิดเป็นร้อยละ 25.83 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 1 คิดเป็นร้อยละ 18.91 มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในภาวะอ้วนระดับ 3 คิดเป็นร้อยละ 12.45 และมีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในน้ำหนักน้อย คิดเป็นร้อยละ 7.21 โดยเมื่อจำแนกค่าดัชนีมวลกายของผู้ตอบแบบสำรวจตามช่วงอายุ พบว่า - ช่วงอายุน้อยกว่า 18 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ (18.50-22.99) คิดเป็นร้อยละ 51.04 - ช่วงอายุ 18-25 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ คิดเป็นร้อยละ 44.37 - ช่วงอายุ 26-35 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ คิดเป็นร้อยละ 40.09 - ช่วงอายุ 36-60 ปี มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์น้ำหนักปกติ คิดเป็นร้อยละ 32.44 - ช่วงอายุ 60 ปีขึ้นไป มีค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ภาวะอ้วนระดับ 2 คิดเป็นร้อยละ 34.86 พฤติกรรมการออกกำลังกาย จากการสำรวจพฤติกรรมการออกกำลังกาย พบว่า ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 43.36 รองลงมาคือ ไม่ได้ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา คิดเป็นร้อยละ 30.40 ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา 3-4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 17.04 และออกกำลังกาย/เล่นกีฬา มากกว่า 4 ครั้งต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 9.19 สำหรับผู้ที่ที่ไม่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬาโดยส่วนใหญ่ให้เหตุผลว่าไม่มีเวลา คิดเป็นร้อยละ 40.73 รองลงมาคือ สภาพแวดล้อม/ภูมิอากาศไม่เอื้ออำนวย คิดเป็นร้อยละ 23.03 ขาดแรงจูงใจ คิดเป็นร้อยละ 19.22 ไม่มีสถานที่ออกกำลังกาย/เล่นกีฬา คิดเป็นร้อยละ 16.14 และเหตุผลอื่น ๆ คิดเป็นร้อยละ 0.89 ตามลำดับ เมื่อพิจารณาถึงการออกกำลังกายตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง พบว่า จากผู้ตอบแบบสำรวจ จำนวน 19,715 คน มีผู้ที่ออกกำลังกายตามเกณฑ์เมืองไทยแข็งแรง ซึ่งควรออกกำลังกาย 15–30 นาที ต่อวัน หรือ 150 นาที ต่อสัปดาห์ (อย่างน้อย 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์) จำนวน 6,399 คน คิดเป็นร้อยละ 32.45 โดยผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ใช้เวลาในการออกกำลังกายเฉลี่ยต่อสัปดาห์น้อยกว่า 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 37.11 รองลงมาคือ ใช้เวลาในการออกกำลังกายเฉลี่ยต่อสัปดาห์ 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 16.81 และใช้เวลาในการออกกำลังกายเฉลี่ยต่อสัปดาห์มากกว่า 2 ชั่วโมง 30 นาที ต่อสัปดาห์ คิดเป็นร้อยละ 15.64 ตามลำดับ ในส่วนของพฤติกรรมการออกกำลังกายภายหลังจากการรับประทานอาหาร โดยส่วนใหญ่จะออกกำลังภายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วมากกว่า 1 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 37.71 และมีผู้ที่ออกกำลังกายภายหลังจากรับประทานอาหารไปแล้วน้อยกว่า 1 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 30.85 ซึ่งส่วนใหญ่ไม่เคยออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) คิดเป็นร้อยละ 54.43 และเคยออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) คิดเป็นร้อยละ 14.18 โดยผู้ที่เคยออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) ส่วนใหญ่จะออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) น้อยกว่า 2 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 5.24 และออกกำลังกายหลังจากรับประทานอาหารมื้อหนัก (บุฟเฟ่ต์) มากกว่า 2 ชั่วโมง คิดเป็นร้อยละ 9.21 ช่วงเวลาที่ออกกำลังกาย ผู้ตอบแบบสำรวจที่ออกกำลังกายส่วนใหญ่ออกกำลังกายในช่วงเย็น คิดเป็นร้อยละ 46.69 รองลงมาคือ ออกกำลังกายในช่วงที่ว่างจากภารกิจ คิดเป็นร้อยละ 28.39 ออกกำลังกายในช่วงเช้า คิดเป็นร้อยละ 14.14 ออกกำลังกายในช่วงกลางคืน คิดเป็นร้อยละ 8.74 และออกกำลังกายในช่วงกลางวัน คิดเป็นร้อยละ 2.05 ตามลำดับ สถานที่ที่ออกกำลังกาย ผู้ตอบแบบสำรวจที่ออกกำลังกายส่วนใหญ่ออกกำลังกายที่บ้าน/ที่พัก คิดเป็นร้อยละ 49.95 รองลงมาคือ ออกกำลังกายในสวนสาธารณะ คิดเป็นร้อยละ 16.5 ออกกำลังกายที่สนามกีฬา/ศูนย์กีฬา/ศูนย์เยาวชน คิดเป็นร้อยละ 10.26 ออกกำลังกายที่ลานกีฬาหรือลานอเนกประสงค์ภายในชุมชน/หมู่บ้าน คิดเป็นร้อยละ 8.94 ออกกำลังกายที่ทำงาน คิดเป็นร้อยละ 8.01 ออกกำลังกายในฟิตเนส/ยิมส์ คิดเป็นร้อยละ 3.79 และออกกำลังกายในโรงเรียน/สถานศึกษา/มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 2.26 ตามลำดับ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) 04. จำนวนของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของ กทม. เพิ่มขึ้นต่อปี
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
04. จำนวนของประชาชนที่เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการของ กทม. เพิ่มขึ้นต่อปี

หน่วยนับ :ราย

เป้าหมาย :760,000.00

ผลงาน :2.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ราย)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
913.00

100 / 100
2
2.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สถิติผู้ใช้บริการกีฬาและนันทนการ ประจำเดือนตุลาคม 2563 สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ จำนวน 234,043 คน ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) จำนวน 47,540 คน กองการกีฬา จำนวน 157,764 คน รวมทั้งสิ้น 439,347 คน สถิติผู้ใช้บริการกีฬาและนันทนการ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2563 สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ จำนวน 258,747 คน ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) จำนวน 41,368 คน กองการกีฬา จำนวน 173,587 คน รวมทั้งสิ้น 473,702 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถิติผู้ใช้บริการกีฬาและนันทนการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - กุมภาพันธ์ 2564 - สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ 1,084,002 คน - ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) 218,488 คน - กองการกีฬา 755,138 คน รวมทั้งสิ้น 2,057,628 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถิติผู้ใช้บริการกีฬาและนันทนาการ ตั้งแต่เดือนตุลาคม - พฤษภาคม 2564 - สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ 1,455,670 คน - ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) 298,136 คน - กองการกีฬา 981,371 คน รวมทั้งสิ้น 2,735,177 คน หมายเหตุ : ศูนย์เยาวชนสังกัดสำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ และกองการกีฬา ปิดให้บริการตั้งแต่เดือนพฤษภาคม – มิถุนายน 2564 เนื่องจากสถานการณ์ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ระลอก 3 ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) เปิดให้บริการวันที่ 5-11 พฤษภาคม 2564 และปิดให้บริการจนถึงมิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิดในปัจจุบัน ส่งผลให้ยอดผู้ติดเชื้อโควิด 19 สูงขึ้น จึงทำให้มีคำสั่งประกาศปิดให้บริการศูนย์ฯ ทั้งนี้ ศูนย์เยาวชนและศูนย์กีฬาบางแห่ง ยังได้จัดเป็นสถานที่พักคอยสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด 19 อีกด้วย สถิติผู้ใช้บริการกีฬาและนันทนาการ ตั้งแต่เดือนมิถุนายน – สิงหาคม 2564 - สำนักงานนันทนาการและส่งเสริมการเรียนรู้ 2,948 คน - ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) - คน - กองการกีฬา - คน รวมทั้งสิ้น 2,948 คน รายละเอียดดังนี้ มีคำสั่งประกาศปิดให้บริการศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา เดือนมิถุนายน - 28 กรกฎาคม 2564 จึงไม่มียอดผู้ใช้บริการ ยกเว้นศูนย์เยาวชนบางขุนเทียนที่เปิดให้บริการในส่วนของสวนสาธารณะ โดยปิดให้บริการกิจกรรมเดิน-วิ่ง มีผู้ใช้บริการ 2 เดือน รวม 2,948 คน ศูนย์เยาวชนและศูนย์กีฬาบางแห่ง ยังได้จัดเป็นสถานที่พักคอยสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด 19 ดังนี้ 1. ดำเนินการใช้สถานที่เป็นโรงพยาบาลสนาม จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษาโรงพยาบาลสนาม (เอราวัณ 1) ศูนย์กีฬาบางกอกอารีน่า โรงพยาบาลสนาม (เอราวัณ 2) ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลสนาม (เอราวัณ 3) ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ศูนย์เยาวชนจตุจักร 2. ดำเนินการใช้สถานที่เป็นศูนย์พักคอย จำนวน 16 แห่ง ได้แก่ อาคารกีฬาเวสน์ 2 ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ศูนย์กีฬารามอินทรา ศูนย์กีฬาประชานิเวศน์ ศูนย์เยาวชนบางแค (เรืองสอน) ศูนย์เยาวชนเกียกกาย (ศูนย์พักคอยสำหรับเด็ก) ศูนย์เยาวชนดอนเมือง ศูนย์เยาวชนสะพานสูง ศูนย์เยาวชนหนองจอก ศูนย์เยาวชนทวีวัฒนา ศูนย์เยาวชนบางขุนเทียน ศูนย์เยาวชนจอมทอง ศูนย์เยาวชนคลองสามวา ศูนย์เยาวชนบางกอกใหญ่ ศูนย์เยาวชนทุ่งครุ ศูนย์เยาวชนบางกะปิ ศูนย์เยาวชนลุมพินี (อาคารลุมพินีสถาน) 3. ดำเนินการใช้สถานที่เป็นศูนย์ตรวจคัดกรองโควิด (swab) จำนวน 2 แห่ง ได้แก่ ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา ศูนย์เยาวชนลุมพินี บริเวณโรงยิมหลังพระบรมรูปรัชกาลที่ 6 ทั้งนี้ ได้มีคำสั่งสำนักวัฒนธรรมฯ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2564 ให้ศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา ที่ไม่ใช่โรงพยาบาลสนาม และศูนย์พักคอย เปิดให้บริการกิจกรรมกลางแจ้ง ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(6) 05. จำนวนการจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการเพิ่มขึ้นต่อปี
[มิติที่ 1 : ]

๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle
05. จำนวนการจัดกิจกรรมกีฬาและนันทนาการที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการเพิ่มขึ้นต่อปี

หน่วยนับ :กิจกรรม

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :1.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กิจกรรม)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
1.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างเตรียมการจัดประชุมส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการสำรวจความต้องการกิจกรรมกีฬาและนันทนาการที่นำไปสู่การจัดกิจกรรมที่มีความหลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการ ในศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ศูนย์เยาวชน จำนวน 35 แห่ง และศูนย์กีฬา จำนวน 12 แห่ง เรียบร้อยแล้วโดยผลการสำรวจความต้องการกิจกรรมที่ผู้ใช้บริการต้องการให้จัดเพิ่มเติม จำแนกตามศูนย์บริการ เป็นดังนี้ 1. ศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) ผู้ใช้บริการต้องการให้กิจกรรมเพิ่มเติม ได้แก่ ถ่ายภาพและตกแต่งภาพจากโทรศัพท์มือถือ และ การตัดต่อ VDO 2. ศูนย์เยาวชนบางกะปิ เปตองสำหรับเยาวชน และ ยิมนาสติกระดับพื้นฐาน 3. ศูนย์เยาวชนสะพานสูง โยคะในน้ำ และ โยคะผู้สูงอายุ 4. ศูนย์เยาวชนหนองจอก ไอดียจัดแต่งห้องด้วยต้นไม้ และ Balance Bike 5. ศูนย์เยาวชนจตุจักร กิจกรรมสวดมนต์ฝึกสมาธิ และ กิจกรรมปลูกพืชสวนครัว 6. ศูนย์เยาวชนทวีวัฒนา Body weight ( บอดี้เวท) และ เกษตรปันสุข 7. ศูนย์เยาวชนดอนเมือง ปลูกปันกัน และ บาสโลบ 8. ศูนย์เยาวชนลุมพินี แอโรบิคในน้ำ และ ศิลปะประดิษฐ์ 9. ศูนย์เยาวชนบางแค (เรืองสอน) คอมพิวเตอร์สำหรับผู้สูงอายุ และ ดนตรีในศูนย์ฯ 10. ศูนย์เยาวชนบางขุนเทียน กิจกรรมการออกกำลังกายตาราง 9 ช่อง และ การสอนแต่งหน้าด้านนาฏศิลป์ 11. ศูนย์เยาวชนคลองสามวา ยางยืดเพื่อสุขภาพ และ กิจกรรมเต้น HIIT 12. ศูนย์เยาวชนวัดชัยพฤกษมาลา อังกะลุงเยาวชน และ หมากกระดาน 13. ศูนย์เยาวชนจอมทอง พืชผักสวนครัว และ หมากกระดาน 14. ศูนย์เยาวชนทุ่งครุ ดนตรีในศูนย์ฯ (สวน) และ ภาษาอังกฤษจากโลกภาพยนตร์ 15. ศูนย์เยาวชนคลองกุ่ม ศิลปะป้องกันตัว และ มวยไทย 16. ศูนย์เยาวชนบ่อนไก่ ศิลปะประดิษฐ์ และ ขับร้องสากล 17. ศูนย์เยาวชนคลองเตย กีฬากาบัดดี้ และ กีฬาอีสปอร์ต 18. ศูนย์เยาวชนบางนา กิจกรรม ไลน์แดนซ์ และ กิจกรรม Digital Photo 19. ศูนย์เยาวชนลาดกระบัง กีฬามหาสนุก และ เปตอง 20. ศูนย์เยาวชนมีนบุรี เก้าอี้โยคะ และ ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 21. ศูนย์เยาวชนสะพานพระราม 9 รำวงมาตรฐาน และ บาสโลบ 22. ศูนย์เยาวชนสะพานพระราม 8 กิจกรรมเข้าจังหวะ และ รำพัด 23. ศูนย์เยาวชนวชิรเบญจทัศ ปลูกผักสวนครัว ริมรั้วกินได้ และ สอนการใช้ smart phone เพื่อผู้สูงวัย 24. ศูนย์เยาวชนเกียกกาย ธรรมะสวัสดี และ เปตอง 25. ศูนย์เยาวชนหลักสี่ ศิลป์สร้างสุข ผู้สูงอายุ (การทำผ้าบาติก) และ แบดมินตัน เยาวชน 26. ศูนย์เยาวชนวัดโสมนัส สูงวัยเข้าใจโซเซียล และ เกมส์พัฒนาเพื่อทุกวัย 27. ศูนย์เยาวชนเทเวศร์ ปาเป้า และ เกมส์นันทนาการ 28. ศูนย์เยาวชนสวนอ้อย ปลูกผักสวนครัวลอยฟ้า และ คัดลายมือภาษาไทย 29. ศูนย์เยาวชนบางเขน สอนแต่งหน้า และ จัดดอกไม้ 30. ศูนย์เยาวชนเตชะวณิช กิจกรรมเข้าจังหวะ และ กิจกรรมวงดนตรีไทย 31. ศูนย์เยาวชนวัดฉัตรแก้วจงกลณี กิจกรรมฝึกทักษะตารางเก้าช่อง และ กิจกรรมฝึกไม้พลองเพื่อสุขภาพ 32. ศูนย์เยาวชนวัดเวฬุราชิณ สอนแต่งหน้าผู้สูงอายุ และ ตะกร้อลอดห่วง 33. ศูนย์เยาวชนบางกอกใหญ่ กิจกรรมเกษตรรั้วกินได้ และ กิจกรรมธรรมะ สำหรับผู้สูงอายุ 34. ศูนย์เยาวชนอัมพวา รำวงมาตรฐานผู้สูงวัย และ เต้นบาสโลบผู้สูงวัย 35. ศูนย์เยาวชนวัดธาตุทอง กิจกรรมเข้าจังหวะ และ อังกะลุง 36. ศูนย์เยาวชนวัดดอกไม้ รำกระบี่กระบอง และ ศิลปะผู้สูงอายุ 37. ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ Extreme Sport สเก็ตบอร์ด,อินไลน์สเก็ต,โรลเลอร์สเก็ต และ ห้องขับร้องเพลง karaoke 38. ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เปตอง และ เทนนิส 39. ศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา บาสเกตบอล และ สถานีออกกำลังกายกลางแจ้งและสนามเด็กเล่น 40. ศูนย์กีฬาอ่อนนุช เกทบอล และ เปตอง 41. ศูนย์กีฬามิตรไมตรี หมากกระดาน และกิจกรรมแบดมินตัน หรือมวยไทย 42. ศูนย์กีฬารามอินทรา แอโรบิกมวยไทย และ หมากรุก หมากฮอส 43. ศูนย์กีฬาวชิรเบญจทัศ บอดี้เวท และ Skate Board 44. ศูนย์กีฬาบึงหนองบอน SUP Board (Stand Up Paddle board) และ ฟิตเนส 45. ศูนย์กีฬาบางขุนเทียน มวยและมวยไทย และ ศิลปะป้องกันตัว 46. ศูนย์กีฬาประชานิเวศน์ สตรีทเวิร์คเอ๊าท์ และ วอลเลย์บอล 47. ศูนย์กีฬาบางกอกอารีน่า กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย(ฟิตเนส) และ กิจกรรมกีฬาฟุตซอล 48. ศูนย์กีฬาวารีภิรมย์ สเก็ตบอร์ด/โรลเลอร์สเก็ต และ สตรีทบาสเก็ตบอล ขณะนี้ อยู่ระหว่างศูนย์บริการแต่ละแห่งดำเนินการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการเพิ่มเติม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยู่ระหว่างศูนย์ดำเนินการจัดกิจกรรม แต่เนื่องจากสถานการณ์โควิด - 19 ระลอก 3 จึงทำให้ต้องปิดการให้บริการศูนย์เยาวชน ศูนย์กีฬา จนถึง 30 มิถุนายน 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เนื่องจากสถานการณ์โควิด-19 ทำให้มีคำสั่งประกาศปิดให้บริการศูนย์ฯ ทั้งนี้ ศูนย์เยาวชนและศูนย์กีฬาบางแห่ง ยังได้จัดเป็นสถานที่พักคอยสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด 19 อีกด้วย ดังนั้น จึงไม่สามารถจัดกิจกรรมตามผลการสำรวจได้ สำหรับศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) จัดกิจกรรมหลากหลาย คือ โครงการสอนถ่ายภาพและตกแต่งภาพด้วยโทรศัพท์มือถือ ระหว่างวันที่ 7-8 สิงหาคม พ.ศ.2564 ผู้เข้าร่วมโครงการเป็นสมาชิกศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 25 คน โดยจัดการเรียนการสอนระบบออนไลน์ ผ่านโปรแกรม Zoom

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(7) 1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมโดยเครือข่ายการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อเพิ่มการใช้บริการของห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๓ ประชาชนมีโอกาสศึกษาตลอดชีวิต
1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมโดยเครือข่ายการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อเพิ่มการใช้บริการของห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ห้องสมุดฯ อยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ห้องสมุดฯ อยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ห้องสมุดฯ ที่ยังไม่ดำเนินการจัดกิจกรรมกับภาคี อยู่ระหว่างขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น 1. การสร้างดำเนินการสร้างภาคีเครือข่าย ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ดำเนินการสร้างภาคีเครือข่ายเรียบร้อยแล้ว จำนวน 33 แห่ง และอยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และเตรียมการจัดกิจกรรม จำนวน 3 แห่ง 2. การจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่าย จำนวน 2 กิจกรรมต่อปี 2.1 ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้งแล้ว จำนวน 25 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดฯ สวนลุมพินี ห้องสมุดฯ ซอยพระนาง ห้องสมุดฯ ลาดกระบัง ห้องสมุดฯ ทุ่งครุ ห้องสมุดฯ มีนบุรี ห้องสมุดฯ ห้วยขวาง ห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามฯ ห้องสมุดฯ วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต ห้องสมุดฯ หนองจอก ห้องสมุดฯ บ้านจิรายุ – พูนทรัพย์ ห้องสมุดฯ อิสลามฯ ห้องสมุดฯ เขตบางซื่อ ห้องสมุดฯ อนงคาราม ห้องสมุดฯ วัดรัชฎาธิษฐานฯ ห้องสมุดสีเขียว ห้องสมุดฯ เขตคลองสาน ห้องสมุดฯ จตุจักร ห้องสมุดฯ สวนรมณีย์ ทุ่งสีกัน ห้องสมุดฯ เคหะชุมชนดินแดง ๒ ห้องสมุดเสรีไทยอนุสรณ์ ห้องสมุดฯ วนธรรม ห้องสมุดสิ่งแวดล้อม ห้องสมุดฯ บางขุนเทียน ห้องสมุดฯ ประเวศ ห้องสมุดวิชาการ 2.2 ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย จำนวน 1 ครั้งแล้ว จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ห้องสมุดฯ ภาษีเจริญ ห้องสมุดฯ บางกะปิ ห้องสมุดฯ ดุสิต ห้องสมุดฯ วัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดฯ คลองสามวา ห้องสมุดฯ เขตราษฎร์บูรณะ ห้องสมุดฯ บางเขน 2.3 ขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) จะดีขึ้น จำนวน 3 แห่ง ห้องสมุดฯ สะพานสูง จำนวน 2 ครั้ง ห้องสมุดฯ บางบอน จำนวน 2 ครั้ง ห้องสมุดฯ วัดพรหมรังสี จำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. การสร้างดำเนินการสร้างภาคีเครือข่าย ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ดำเนินการสร้างภาคีเครือข่ายเรียบร้อยแล้ว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 แห่ง 2. การจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่าย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 กิจกรรมต่อปี - ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 ครั้งแล้ว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 แห่ง ได้แก่ 1. ห้องสมุดฯ สวนลุมพินี เครือข่าย Christian Outreach Centre Foundation - กิจกรรมภาษาอังกฤษสนุกเรียนสนุกเล่น สอนภาษาอังกฤษสำหรับวัยรุ่น โดย Mr. Juan Erick Osorio Estevez จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน - กิจกรรมภาษาอังกฤษสนุกทุกวันเสาร์ สอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก โดย Miss Ruth Tabita Pena Vargas จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน 2. ห้องสมุดฯ ซอยพระนาง เครือข่ายมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) - กิจกรรมหมอนหนุนอุ่นรัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เครือข่ายสมาคมเครือข่ายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน - กิจกรรมเขียนศิลป์บนเสื้อ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน 3. ห้องสมุดฯ ลาดกระบัง เครือข่ายสโมสรไลออนส์กรุงเทพ รัตนชาติ - กิจกรรมประกวดเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ (Essay Contest) หัวข้อ "Talent for Survival After Covid-19" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 39 คน เครือข่ายโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ - กิจกรรมเรารักเด็ก มอบของเล่น ของขวัญของรางวัลให้เด็กและเยาวชน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 550 คน 4. ห้องสมุดฯ ทุ่งครุ เครือข่ายกลุ่มธนาคารเวลาสารอดสร้างสรรค์/กิจกรรมผู้สูงอายุ - กิจกรรมจิตอาสา พาสุขใจ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน - กิจกรรมถุงหอม ดอกไม้แห้ง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน 5. ห้องสมุดฯ มีนบุรี เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ - กิจกรรม Kahoot ตอนลักษณนาม จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน - กิจกรรม Natural Art จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน 6. ห้องสมุดฯ ห้วยขวาง เครือข่ายกลุ่มโครงการสร้างเด็กดีด้วยนิทาน - กิจกรรมนิทานสัญจร จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 32 คน เครือข่ายศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง - โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 7-28 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน 7. ห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามฯ เครือข่ายโรงเรียนวัดศาลาครีน - กิจกรรมแนะนำให้นักเรียนรู้จักห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามและกิจกรรมระบายสีกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คน - กิจกรรมศิลปะประดิษฐ์กล่องลิงเด้งดึ๋ง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 8. ห้องสมุดฯ วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต เครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต - กิจกรรมสร้างสีสันบนกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน - กิจกรรม shake shake ไอติมหลอด จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 9. ห้องสมุดฯ หนองจอก เครือข่ายโรงเรียนวัดหนองจอก (ภักดีนรเศรษฐ) - กิจกรรมประดิษฐ์กล่องดินสอผีเสื้อ จัดกิจกรรมเมื่อเดือนธันวาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลบ้านสวนหมาก - กิจกรรมระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน จัดกิจกรรมเมื่อเดือนมีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน 10. ห้องสมุดฯ บ้านจิรายุ – พูนทรัพย์ เครือข่ายศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร วัดธรรมมงคล - กิจกรรมปันหนังสือ ปันปัญญาและกิจกรรมพับที่คั่นหนังสือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คน - กิจกรรมร้อยสายคล้องแมส จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 11. ห้องสมุดฯ อิสลามฯ เครือข่ายโรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม - กิจกรรมช้างน้อยน่ารัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 54 คน - กิจกรรมบิงโกชื่อห้องสมุด จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 58 คน 12. ห้องสมุดฯ เขตบางซื่อ เครือข่ายโรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม - กิจกรรมกระเป๋าลดโลกร้อน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - กิจกรรมระบายสีการ์ตูนจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน 13. ห้องสมุดฯ อนงคาราม เครือข่ายโรงเรียนบำรุงวิชา - กิจกรรมวันลอยกระทง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 47 คน - กิจกรรมเทียนเจลหรรษาจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 14. ห้องสมุดฯ วัดรัชฎาธิษฐานฯ เครือข่ายชุมชนหลังวัดรัชฎาธิษฐาน (วัดเงิน) - กิจกรรม ทำการบ้านด้วยหนังสือดีกว่าเปิดมือถือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 14 คน - กิจกรรมเย็บหน้ากากอนามัย จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 15. ห้องสมุดสีเขียว เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลวังทอง - กิจกรรมเล่านิทานเล่มโตพาเพลิน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 43 คน - กิจกรรมสนุกกับการใช้สีบนผ้าจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน 16. ห้องสมุดฯ เขตคลองสาน เครือข่ายโรงเรียนพัฒนาวิทยา - กิจกรรม ต. เต่าหลังตุง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน - กิจกรรมหนอนน้อยตัวยุบยับ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน 17. ห้องสมุดฯ จตุจักร เครือข่ายฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตจตุจักร - กิจกรรมออมสินออมเงิน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เครือข่ายโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) - กิจกรรมหุ่นมือถุงกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 54 คน 18. ห้องสมุดฯ สวนรมณีย์ ทุ่งสีกัน เครือข่ายสโมสรโรตารี่ ดอนเมือง - กิจกรรมรับมอบหนังสือ How to มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 119 เล่ม ใช้ในกิจกรรม ปันกันอ่าน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - กิจกรรมรับมอบถุงผ้าระบายสี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 ชุด ใช้ในกิจกรรม ถุงผ้ารักษ์โลกจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6,13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 18 คน 19. ห้องสมุดฯ เคหะชุมชนดินแดง 2 เครือข่ายโรงเรียนสามัคคีบำรุงวิทยา - กิจกรรมแต้มฝันปันนิทาน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - กิจกรรมสร้างเด็กดีด้วยหนังสือนิทานจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 60 คน 20. ห้องสมุดเสรีไทยอนุสรณ์ เครือข่ายโรงเรียนคลองกุ่ม (เสรีไทย อนุสรณ์) - กิจกรรมกระซิบบอกต่อ ไม่รอแล้วนะ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - กิจกรรมบิงโก ตามล่าหาชื่อหนังสือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน 21. ห้องสมุดฯ วนธรรม เครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนร่วมใจพัฒนา - กิจกรรมประดิษฐ์จานเป็นรูปตัวตลก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - กิจกรรมประดิษฐ์งูจากกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน 22. ห้องสมุดสิ่งแวดล้อม เครือข่ายบริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนเทล เทคโนโลยี จำกัด - กิจกรรมอบรมหลักสูตรดับเพลิงขั้นต้น จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2563 เครือข่ายฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมสำนักงานเขตจตุจักร - กิจกรรมปันหนังสือ ปันความรู้สู่ชุมชน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 และ 14 พฤศจิกายน 2563 23. ห้องสมุดฯ บางขุนเทียน เครือข่ายโรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา - กิจกรรม Paper Model จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - กิจกรรมหุ่นมือจากถุงกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 24. ห้องสมุดฯ วิชาการ เครือข่ายกลุ่มคนรักงานศิลปะและงานฝีมือ - กิจกรรม DIY at Home ตกแต่งสติ๊กเกอร์พวงกุญแจ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 37 คน - กิจกรรม DIY at Home ระบายสีไม้บนกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 38 คน 25. ห้องสมุดฯ คลองสามวา เครือข่ายโรงเรียนบ้านหนองระแหง (ชมแสงประชานุกูล) สำนักงานเขตคลองสามวา - กิจกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจจากกระดุมและD.I.Y ไม้หนีบผ้าเป็นสัตว์แสนน่ารัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 146 คน - กิจกรรม D.I.Y กระเป๋าผ้าพิมพ์ลาย และกระเป๋าผ้ามัดย้อม จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 150 คน 26. ห้องสมุดฯ บางกะปิ เครือข่ายโรงเรียนวัฒนานนท์วิทยา - กิจกรรมระบายสีกระเป๋าผ้า เล่านิทาน พร้อมมอบของขวัญ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 80 คน เครือข่ายกลุ่มนักเล่านิทานบางกะปิ - กิจกรรมเล่านิทานจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน 27. ห้องสมุดฯ บางเขน เครือข่ายสำนักงานเขตบางเขน - กิจกรรมหนังสือปันกันอ่านสู่บางเขน ครั้งที่ 1 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - กิจกรรมหนังสือปันกันอ่านสู่บางเขน ครั้งที่ 2 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 28. หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร เครือข่ายบริษัท นาราโกเบิล จำกัด - กิจกรรมปั้นหัวดินสอจาก Foam Clay จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 51 คน - กิจกรรม DIY Dinobox จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 29. ห้องสมุดฯ ประเวศ เครือข่ายกลุ่มนักศึกษาฝึกงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - กิจกรรมงานห้องสมุด จัดกิจกรรมเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน เครือข่ายโรงเรียนนราทร - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็ก จัดกิจกรรมเมื่อเดือนมีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 33 คน 30. ห้องสมุดฯ ภาษีเจริญ เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลบ้านสวน - กิจกรรมระบายสีปูนปลาสเตอร์ และกิจกรรมระบายสึถุงผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 89 คน - กิจกรรมมุมหนังสือเด็ก ณ โรงเรียนอนุบาลบ้านสวนจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 31. ห้องสมุดฯ ดุสิต เครือข่ายกลุ่ม Half Book เครือข่ายกลุ่ม Food & Health - กิจกรรมเล่านิทาน และทำงานประดิษฐ์ DIY ตอน มาปาร์ตี้กับอลันกันเถอะ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน - กิจกรรมแอลกอฮอล์สเปรย์ พร้อมจัดทำคลิปวิดีโอ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน 32. ห้องสมุดฯ วัดลาดปลาเค้า เครือข่ายวัดลาดปลาเค้า - กิจกรรมอ่านปันกันให้กับห้องสมุดฯ ครั้งที่ 1 - 3 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25-27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 113 คน - กิจกรรมแบ่งปันความอิ่ม แบ่งปันความรู้ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 80 คน 33. ห้องสมุดฯ เขตราษฎร์บูรณะ เครือข่ายโรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส - กิจกรรมนิทานสัตหีบ กับ สัตว์ทะเลน่ารู้ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - สายคล้องแมสออนไลน์ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน 34. ห้องสมุดฯ บางบอน เครือข่ายชุมชนทรัพย์สินพัฒนา - กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่และประดิษฐ์เหรียญโปรยทาน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน เครือข่ายศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (บางบอน) - กิจกรรมร้อยกำไลลูกปัดออนไลน์จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน 35. ห้องสมุดฯ สะพานสูง เครือข่าย Sea Blue Again มัดย้อม Handmade เฟซบุ๊กเพจ - กิจกรรม Natural Tie Dye Series : Turmeric ผ้ามัดย้อม "ขมิ้น" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน - กิจกรรม Natural Tie Dye Series : mango Leaves ย้อมผ้าด้วย "ใบมะม่วง" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 กรกฏาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน 36. ห้องสมุดฯ วัดพรหมรังษี เครือข่ายวัดพรหมรังษี - กิจกรรมธรรมสัญจร จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - กิจกรรมค่ายกุลบุตร ณ วัดพรหมรังษี จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 41 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(8) 1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมโดยเครือข่ายการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อเพิ่มการใช้บริการของห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการการศึกษาสำหรับผู้เรียนในกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ
1.3 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมโดยเครือข่ายการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนเพื่อเพิ่มการใช้บริการของห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :5.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
5.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ห้องสมุดฯ อยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ห้องสมุดฯ อยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ห้องสมุดฯ ที่ยังไม่ดำเนินการจัดกิจกรรมกับภาคี อยู่ระหว่างขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น 1. การสร้างดำเนินการสร้างภาคีเครือข่าย ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ดำเนินการสร้างภาคีเครือข่ายเรียบร้อยแล้ว จำนวน 33 แห่ง และอยู่ระหว่างสร้างภาคีเครือข่าย และเตรียมการจัดกิจกรรม จำนวน 3 แห่ง 2. การจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่าย จำนวน 2 กิจกรรมต่อปี 2.1 ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย จำนวน 2 ครั้งแล้ว จำนวน 25 แห่ง ได้แก่ ห้องสมุดฯ สวนลุมพินี ห้องสมุดฯ ซอยพระนาง ห้องสมุดฯ ลาดกระบัง ห้องสมุดฯ ทุ่งครุ ห้องสมุดฯ มีนบุรี ห้องสมุดฯ ห้วยขวาง ห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามฯ ห้องสมุดฯ วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต ห้องสมุดฯ หนองจอก ห้องสมุดฯ บ้านจิรายุ – พูนทรัพย์ ห้องสมุดฯ อิสลามฯ ห้องสมุดฯ เขตบางซื่อ ห้องสมุดฯ อนงคาราม ห้องสมุดฯ วัดรัชฎาธิษฐานฯ ห้องสมุดสีเขียว ห้องสมุดฯ เขตคลองสาน ห้องสมุดฯ จตุจักร ห้องสมุดฯ สวนรมณีย์ ทุ่งสีกัน ห้องสมุดฯ เคหะชุมชนดินแดง ๒ ห้องสมุดเสรีไทยอนุสรณ์ ห้องสมุดฯ วนธรรม ห้องสมุดสิ่งแวดล้อม ห้องสมุดฯ บางขุนเทียน ห้องสมุดฯ ประเวศ ห้องสมุดวิชาการ 2.2 ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย จำนวน 1 ครั้งแล้ว จำนวน 8 แห่ง ได้แก่ หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ห้องสมุดฯ ภาษีเจริญ ห้องสมุดฯ บางกะปิ ห้องสมุดฯ ดุสิต ห้องสมุดฯ วัดลาดปลาเค้า ห้องสมุดฯ คลองสามวา ห้องสมุดฯ เขตราษฎร์บูรณะ ห้องสมุดฯ บางเขน 2.3 ขอชะลอการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่ายไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19 ) จะดีขึ้น จำนวน 3 แห่ง ห้องสมุดฯ สะพานสูง จำนวน 2 ครั้ง ห้องสมุดฯ บางบอน จำนวน 2 ครั้ง ห้องสมุดฯ วัดพรหมรังสี จำนวน 2 ครั้ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. การสร้างดำเนินการสร้างภาคีเครือข่าย ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ ดำเนินการสร้างภาคีเครือข่ายเรียบร้อยแล้ว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 แห่ง 2. การจัดกิจกรรมร่วมกับเครือข่าย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 กิจกรรมต่อปี - ดำเนินการจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 2 ครั้งแล้ว มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 แห่ง ได้แก่ 1. ห้องสมุดฯ สวนลุมพินี เครือข่าย Christian Outreach Centre Foundation - กิจกรรมภาษาอังกฤษสนุกเรียนสนุกเล่น สอนภาษาอังกฤษสำหรับวัยรุ่น โดย Mr. Juan Erick Osorio Estevez จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน - กิจกรรมภาษาอังกฤษสนุกทุกวันเสาร์ สอนภาษาอังกฤษสำหรับเด็ก โดย Miss Ruth Tabita Pena Vargas จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน 2. ห้องสมุดฯ ซอยพระนาง เครือข่ายมูลนิธิอาสาสมัครเพื่อสังคม (มอส.) - กิจกรรมหมอนหนุนอุ่นรัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เครือข่ายสมาคมเครือข่ายเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน - กิจกรรมเขียนศิลป์บนเสื้อ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน 3. ห้องสมุดฯ ลาดกระบัง เครือข่ายสโมสรไลออนส์กรุงเทพ รัตนชาติ - กิจกรรมประกวดเขียนเรียงความภาษาอังกฤษ (Essay Contest) หัวข้อ "Talent for Survival After Covid-19" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 39 คน เครือข่ายโรงเรียนเชิดเจิมศิลป์ - กิจกรรมเรารักเด็ก มอบของเล่น ของขวัญของรางวัลให้เด็กและเยาวชน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 550 คน 4. ห้องสมุดฯ ทุ่งครุ เครือข่ายกลุ่มธนาคารเวลาสารอดสร้างสรรค์/กิจกรรมผู้สูงอายุ - กิจกรรมจิตอาสา พาสุขใจ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน - กิจกรรมถุงหอม ดอกไม้แห้ง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 10 คน 5. ห้องสมุดฯ มีนบุรี เครือข่ายโรงเรียนเศรษฐบุตรบำเพ็ญ - กิจกรรม Kahoot ตอนลักษณนาม จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน - กิจกรรม Natural Art จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน 6. ห้องสมุดฯ ห้วยขวาง เครือข่ายกลุ่มโครงการสร้างเด็กดีด้วยนิทาน - กิจกรรมนิทานสัญจร จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 32 คน เครือข่ายศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขตห้วยขวาง - โครงการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 7-28 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 36 คน 7. ห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามฯ เครือข่ายโรงเรียนวัดศาลาครีน - กิจกรรมแนะนำให้นักเรียนรู้จักห้องสมุดฯ วัดราชโอรสารามและกิจกรรมระบายสีกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คน - กิจกรรมศิลปะประดิษฐ์กล่องลิงเด้งดึ๋ง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 8. ห้องสมุดฯ วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต เครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนเกณฑ์วัดศิริพงษ์ธรรมนิมิต - กิจกรรมสร้างสีสันบนกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน - กิจกรรม shake shake ไอติมหลอด จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 9. ห้องสมุดฯ หนองจอก เครือข่ายโรงเรียนวัดหนองจอก (ภักดีนรเศรษฐ) - กิจกรรมประดิษฐ์กล่องดินสอผีเสื้อ จัดกิจกรรมเมื่อเดือนธันวาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลบ้านสวนหมาก - กิจกรรมระบายสีถุงผ้าลดโลกร้อน จัดกิจกรรมเมื่อเดือนมีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน 10. ห้องสมุดฯ บ้านจิรายุ – พูนทรัพย์ เครือข่ายศูนย์ฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร วัดธรรมมงคล - กิจกรรมปันหนังสือ ปันปัญญาและกิจกรรมพับที่คั่นหนังสือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 35 คน - กิจกรรมร้อยสายคล้องแมส จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 11. ห้องสมุดฯ อิสลามฯ เครือข่ายโรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม - กิจกรรมช้างน้อยน่ารัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 54 คน - กิจกรรมบิงโกชื่อห้องสมุด จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 58 คน 12. ห้องสมุดฯ เขตบางซื่อ เครือข่ายโรงเรียนอันวารุ้ลอิสลาม - กิจกรรมกระเป๋าลดโลกร้อน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 2 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน - กิจกรรมระบายสีการ์ตูนจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 28 คน 13. ห้องสมุดฯ อนงคาราม เครือข่ายโรงเรียนบำรุงวิชา - กิจกรรมวันลอยกระทง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 47 คน - กิจกรรมเทียนเจลหรรษาจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 14. ห้องสมุดฯ วัดรัชฎาธิษฐานฯ เครือข่ายชุมชนหลังวัดรัชฎาธิษฐาน (วัดเงิน) - กิจกรรม ทำการบ้านด้วยหนังสือดีกว่าเปิดมือถือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 14 คน - กิจกรรมเย็บหน้ากากอนามัย จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 15. ห้องสมุดสีเขียว เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลวังทอง - กิจกรรมเล่านิทานเล่มโตพาเพลิน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 43 คน - กิจกรรมสนุกกับการใช้สีบนผ้าจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน 16. ห้องสมุดฯ เขตคลองสาน เครือข่ายโรงเรียนพัฒนาวิทยา - กิจกรรม ต. เต่าหลังตุง จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน - กิจกรรมหนอนน้อยตัวยุบยับ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 คน 17. ห้องสมุดฯ จตุจักร เครือข่ายฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคม สำนักงานเขตจตุจักร - กิจกรรมออมสินออมเงิน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 30 คน เครือข่ายโรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภช (ราชทัณฑ์อุปถัมภ์) - กิจกรรมหุ่นมือถุงกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 54 คน 18. ห้องสมุดฯ สวนรมณีย์ ทุ่งสีกัน เครือข่ายสโมสรโรตารี่ ดอนเมือง - กิจกรรมรับมอบหนังสือ How to มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 119 เล่ม ใช้ในกิจกรรม ปันกันอ่าน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - กิจกรรมรับมอบถุงผ้าระบายสี มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 50 ชุด ใช้ในกิจกรรม ถุงผ้ารักษ์โลกจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6,13 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 18 คน 19. ห้องสมุดฯ เคหะชุมชนดินแดง 2 เครือข่ายโรงเรียนสามัคคีบำรุงวิทยา - กิจกรรมแต้มฝันปันนิทาน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 31 คน - กิจกรรมสร้างเด็กดีด้วยหนังสือนิทานจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 60 คน 20. ห้องสมุดเสรีไทยอนุสรณ์ เครือข่ายโรงเรียนคลองกุ่ม (เสรีไทย อนุสรณ์) - กิจกรรมกระซิบบอกต่อ ไม่รอแล้วนะ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน - กิจกรรมบิงโก ตามล่าหาชื่อหนังสือ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 26 คน 21. ห้องสมุดฯ วนธรรม เครือข่ายศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนชุมชนร่วมใจพัฒนา - กิจกรรมประดิษฐ์จานเป็นรูปตัวตลก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 19 คน - กิจกรรมประดิษฐ์งูจากกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 22 คน 22. ห้องสมุดสิ่งแวดล้อม เครือข่ายบริษัท โกลบอล เอ็นไวรอนเมนเทล เทคโนโลยี จำกัด - กิจกรรมอบรมหลักสูตรดับเพลิงขั้นต้น จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25 ตุลาคม 2563 เครือข่ายฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมสำนักงานเขตจตุจักร - กิจกรรมปันหนังสือ ปันความรู้สู่ชุมชน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 6 และ 14 พฤศจิกายน 2563 23. ห้องสมุดฯ บางขุนเทียน เครือข่ายโรงเรียนบางขุนเทียนศึกษา - กิจกรรม Paper Model จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน - กิจกรรมหุ่นมือจากถุงกระดาษ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 24. ห้องสมุดฯ วิชาการ เครือข่ายกลุ่มคนรักงานศิลปะและงานฝีมือ - กิจกรรม DIY at Home ตกแต่งสติ๊กเกอร์พวงกุญแจ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 37 คน - กิจกรรม DIY at Home ระบายสีไม้บนกระเป๋าผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 38 คน 25. ห้องสมุดฯ คลองสามวา เครือข่ายโรงเรียนบ้านหนองระแหง (ชมแสงประชานุกูล) สำนักงานเขตคลองสามวา - กิจกรรมการประดิษฐ์พวงกุญแจจากกระดุมและD.I.Y ไม้หนีบผ้าเป็นสัตว์แสนน่ารัก จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 146 คน - กิจกรรม D.I.Y กระเป๋าผ้าพิมพ์ลาย และกระเป๋าผ้ามัดย้อม จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 150 คน 26. ห้องสมุดฯ บางกะปิ เครือข่ายโรงเรียนวัฒนานนท์วิทยา - กิจกรรมระบายสีกระเป๋าผ้า เล่านิทาน พร้อมมอบของขวัญ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 80 คน เครือข่ายกลุ่มนักเล่านิทานบางกะปิ - กิจกรรมเล่านิทานจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน 27. ห้องสมุดฯ บางเขน เครือข่ายสำนักงานเขตบางเขน - กิจกรรมหนังสือปันกันอ่านสู่บางเขน ครั้งที่ 1 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - กิจกรรมหนังสือปันกันอ่านสู่บางเขน ครั้งที่ 2 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 20 คน 28. หอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร เครือข่ายบริษัท นาราโกเบิล จำกัด - กิจกรรมปั้นหัวดินสอจาก Foam Clay จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 51 คน - กิจกรรม DIY Dinobox จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน 29. ห้องสมุดฯ ประเวศ เครือข่ายกลุ่มนักศึกษาฝึกงานมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - กิจกรรมงานห้องสมุด จัดกิจกรรมเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 5 คน เครือข่ายโรงเรียนนราทร - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านสำหรับเด็ก จัดกิจกรรมเมื่อเดือนมีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 33 คน 30. ห้องสมุดฯ ภาษีเจริญ เครือข่ายโรงเรียนอนุบาลบ้านสวน - กิจกรรมระบายสีปูนปลาสเตอร์ และกิจกรรมระบายสึถุงผ้า จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 89 คน - กิจกรรมมุมหนังสือเด็ก ณ โรงเรียนอนุบาลบ้านสวนจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2564 31. ห้องสมุดฯ ดุสิต เครือข่ายกลุ่ม Half Book เครือข่ายกลุ่ม Food & Health - กิจกรรมเล่านิทาน และทำงานประดิษฐ์ DIY ตอน มาปาร์ตี้กับอลันกันเถอะ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน - กิจกรรมแอลกอฮอล์สเปรย์ พร้อมจัดทำคลิปวิดีโอ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 15 คน 32. ห้องสมุดฯ วัดลาดปลาเค้า เครือข่ายวัดลาดปลาเค้า - กิจกรรมอ่านปันกันให้กับห้องสมุดฯ ครั้งที่ 1 - 3 จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 25-27 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 113 คน - กิจกรรมแบ่งปันความอิ่ม แบ่งปันความรู้ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 4 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 80 คน 33. ห้องสมุดฯ เขตราษฎร์บูรณะ เครือข่ายโรงเรียนวัดประเสริฐสุทธาวาส - กิจกรรมนิทานสัตหีบ กับ สัตว์ทะเลน่ารู้ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - สายคล้องแมสออนไลน์ จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน 34. ห้องสมุดฯ บางบอน เครือข่ายชุมชนทรัพย์สินพัฒนา - กิจกรรมรดน้ำดำหัวผู้ใหญ่และประดิษฐ์เหรียญโปรยทาน จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 8 เมษายน 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 25 คน เครือข่ายศูนย์กีฬาเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา (บางบอน) - กิจกรรมร้อยกำไลลูกปัดออนไลน์จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 23 คน 35. ห้องสมุดฯ สะพานสูง เครือข่าย Sea Blue Again มัดย้อม Handmade เฟซบุ๊กเพจ - กิจกรรม Natural Tie Dye Series : Turmeric ผ้ามัดย้อม "ขมิ้น" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน - กิจกรรม Natural Tie Dye Series : mango Leaves ย้อมผ้าด้วย "ใบมะม่วง" จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 27 กรกฏาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 7 คน 36. ห้องสมุดฯ วัดพรหมรังษี เครือข่ายวัดพรหมรังษี - กิจกรรมธรรมสัญจร จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 40 คน - กิจกรรมค่ายกุลบุตร ณ วัดพรหมรังษี จัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2564 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 41 คน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(9) 07. จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๓ ประชาชนมีโอกาสศึกษาตลอดชีวิต
07. จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :โครงการ

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(โครงการ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.00

95 / 100
2
4.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย อยู่ระหว่างเตรียมดำเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1.1 กิจกรรมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับเยาวชน กำหนดดำเนินการในเดือน ธ.ค. 63 - พ.ค. 64 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรม 1.2 กิจกรรมที่อยู่ระหว่างเตรียมการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ดำเนินการจัดซื้อวัสดุกิจกรรมและของขวัญของรางวัลเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างยืมเงินทดรองจ่ายค่าอาหาร และเตรียมดำเนินการจัดกิจกรรมในเดือนมกราคม 2564 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร 2.1 กิจกรรมหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1.1 กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2564 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุกิจกรรมแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างลงนามสัญญาจ้างทำบูธ เตรียมการจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 2.1.2 กิจกรรม Bangkok City Library Showcase กำหนดดำเนินการในเดือน ม.ค. - มิ.ย 64 อยู่ระหว่างเตรียมการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ม.ค. 63 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุจัดกิจกรรมแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างจ้างทำแผ่นป้ายและแผ่นพับกิจกรรม 2.1.3 กิจกรรมประจำเดือน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ย. 63 - ส.ค. 64 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรม ซึ่งดำเนินการจัดกิจกรรมไปแล้ว ดังนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 63 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 27 พ.ย. 63 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 63 2.2 ค่าบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นค่าจ้างเหมาบริการเป็นรายบุคคล เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาฯ ประจำเดือน พ.ย. 63 แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างเตรียมการเบิกจ่ายฯ ประจำเดือน ธ.ค. 63 ยอดเบิกจ่ายประจำเดือน พฤศจิกายน 2563 เป็นเงิน 104,765 บาท รวมเป็นเงิน 209,530 บาท 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อ 3.2 วิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ ดำเนินการสอนกิจกรรมตามโซนต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร แห่งที่ 1 (จตุจักร) ดังนี้ 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ วิทยากรกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมศิลปะภาพเงาและกิจกรรม MONSTER ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ วิทยากรกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรมตำลายดอกไม้ (Flower pounding to create faux watercolor paper) ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ วิทยากรกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม Color Dancing ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู วิทยากรกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมบานอฟฟี่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ วิทยากรกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน กิจกรรมวาดแสงและเงา และกิจกรรมวาดภาพการ์ตูนล้อเลียน ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น วิทยากรกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมไก่กระต๊าก และกิจกรรมมนุษย์กับสิ่งประดิษฐ์ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี วิทยากรกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียนและวัฒนธรรมสี่ภาพ และกิจกรรมจานรองจากใบตอง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง วิทยากรกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นนิ้วมือ นิทานเรื่อง กบเลือกนาย ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น วิทยากรกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเล่านิทานเรื่อง หนูเจ็ดตัว และกิจกรรม Paper Bag Book ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง วิทยากรกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม วงล้อวันเกิด และกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้เข้าชมแบบหมู่คณะ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินการจัดซื้อวัสดุสำหรับการจัดงานวันเด็กเรียบร้อยแล้ว กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 3.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 วิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ ดำเนินการสอนกิจกรรมตามโซนต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร แห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) ดังนี้ 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร วิทยากรกิจกรรมคหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมธรรมชาติสร้างสีสัน วุ้นแฟนซี และพระราชากับอาหารหลัก 5 หมู่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว วิทยากรกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมช่วงเวลาของแสงและเงา และรำลึกถึงพ่อหลวง รัชกาลที่ 9 ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวพัชรินทร์ ดิษด้วง วิทยากรกิจกรรมห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมผสมสระ ประกอบคำ อ่านสนุก ลูกเต๋าเล่าเรื่อง และเรื่องเล่าของพ่อ (ทองแดง) อาคาร 1 ชั้น 1 ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ วิทยากรกิจกรรมภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมทับทรวงกระดาษ หุ่นปลาดุ๊กดิ๊ก และกังหันน้ำของพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นางสาวธารารัตน์ โฆษิตอัมพรพัฒน์ วิทยากรกิจกรรมสิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมหมวกและกรอบรูป DIY และออมสินพอเพียง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นายจักรินทร์ กลั่นประดิษฐ์ วิทยากรกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมจรวดกระดาษ เครื่องร่อนฟิวเจอร์บอร์ด และดาวเรืองเพื่อพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด วิทยากรกิจกรรมหัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสานปลาตะเพียน พัดสานสร้างสรรค์ และดอกไม้ให้พ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ วิทยากรกิจกรรมสันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรม What Animals? ตัวอะไรกัน Animals ด๊อกแด๊ก และดนตรีของพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวที - สันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาววราภรณ์ สุวรรณวัฒน์ วิทยากรกิจกรรมศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมนาฏศิลป์พื้นฐาน หนังตะลุงจิ๋ว และมาลัยให้พ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 4.3 กิจกรรมวันเด็ก อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 4. กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 5. จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย 1.1 อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 3 กิจกรรม ได้แก่ 1.1 กิจกรรมเปิดโลกนิทาน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ค. - มิ.ย. 2564 1.2 กิจกรรมสร้างสุขด้วยการอ่านกับผู้สูงอายุ กำหนดดำเนินการในเดือน มี.ค. - เม.ย. 2564 เลื่อนการจัดกิจกรรมเป็นวันที่ 9 เม.ย. - 28 พ.ค. 64 1.3 กิจกรรม BMA BOOK & LIBRARY FAIR กำหนดดำเนินการในวันที่ มี.ค. - เม.ย. 2564 ดำเนินการจัดทำ TOR แล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ดำเนินการจ้างเหมาจัดกิจกรรมตามกำหนดเวลา โดยขณะนี้ อยู่ระหว่างรออนุมัติเปลี่ยนแปลงระเบียบในการจัดกิจกรรมฯ ประกอบการขอเงินงวด และเตรียมการขออนุมัติการจัดกิจกรรมรอบที่ 2 ตามระเบียบใหม่ 1.2 ชะลอการจัดกิจกรรม จำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ขอชะลอการจัดกิจกรรมและเลื่อนไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น 1.3 เลื่อนการจัดกิจกรรม จำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับเยาวชน กำหนดดำเนินการในเดือน ธ.ค. 63 - พ.ค. 64 ขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) สามารถควบคุมได้หรือคลี่คลาย ตามหนังสือที่ 192/1264 ลงวันที่ 21 ม.ค. 64 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร 2.1 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมจำนวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 2.1.1 กิจกรรมหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการขออนุมัติจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่าย และขอเงินงวด ประกอบด้วย - กิจกรรม พอ.สร้าง.สุข กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ค. - ก.ค. 64 - กิจกรรมเล่าเรื่องเมืองกรุงเทพ (Bangkok Talk) กำหนดดำเนินการในเดือน เม.ย. - ก.ค. 64 2.1.2 ค่าบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นค่าจ้างเหมาบริการเป็นรายบุคคล เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาฯ ประจำเดือน ม.ค. 64 แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างการเบิกจ่ายฯ ประจำเดือน ก.พ. 64 ยอดเบิกจ่ายประจำเดือน มกราคม 2564 เป็นเงิน 104,765 บาท รวมเป็นเงิน 419,060 บาท 2.2 ชะลอการจัดกิจกรรม โดยชะลอการจัดกิจกรรมและเลื่อนไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น จำนวน 3 กิจกรรม ขณะนี้อยู่ระหว่างเตรียมการจัดทำเอกสารขอเปลี่ยนแปลงวันจัดกิจกรรม ได้แก่ 2.2.1 กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2564 กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 ม.ค. 64 2.2.2 กิจกรรมประจำเดือน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ย. 63 - ส.ค. 64 2.2.3 กิจกรรม Bangkok City Library Showcase กำหนดดำเนินการในเดือน ม.ค. - มิ.ย 64 2.3 สถิติผู้ใช้บริการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้เข้าใช้บริการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - 11 มีนาคม 2564 จำนวน 27,713 คน ในปีงบประมาณ 2564 ไม่มีผู้เข้าศึกษาดูงาน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - 11 มีนาคม 2564 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 3.2 ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเมล็ดพืชสร้างสรรค์ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรม DIY SPIN DRUM ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม ร้อนปะทะเย็น (Hot and Cold) ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมพายข้าวโพดทอด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน และกิจกรรมวาดภาพดอกไม้ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเครื่องร่อนหลอด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมดอกไม้ใบเตยหอม ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นเชิด นิทานเรื่อง กากับนกยูง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม PAPER KEYRING ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม CDM Bingo ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินกการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และของขวัญของรางวัลเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างรอกำหนดจัดกิจกรรมวันเด็ก ขณะนี้ได้รับความเห็นชอบให้เลื่อนการจัดกิจกรรมวันเด็ก จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลีคลาย ตามหนังสือที่ กท 1204/056 ลงวันที่ 4 มกราคม 2564 3.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือน พฤษภาคม 2564 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 8,036 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,433 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 5,841 คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรม สบู่สู้โควิด และไดฟูกุ มุ้งมิ้ง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสร้างสรรค์จินตนาการด้วยแอร์บรัช ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมโคมกระดาษ และเรื่องนี้หนูอยากเล่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมปี่เสียงนก และ พัดลมมือถือไม้ไผ่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นายกฤษฏ์ รุ่งศิลา ผู้นำกิจกรรมฯ สิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมที่แขวนแสนหวาน และห่วงแห่งรัก ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมแป้งโดว์นำไฟฟ้า และตุ๊กตาลมคืนชีพ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสร้อยข้อมือลูกปัด และพวงกุญแจลูกปัด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมเกมถอดรหัส และ TIN CAN GAME ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาววราภรณ์ สุวรรณวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมนาฏศิลป์พื้นฐาน (เพลงงามแสงเดือน) หุ่นนิ้วมือลังไข่ และเครื่องดนตรีเจ้าป่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 10. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมดอกไม้อาเซียน และกล่องอาเซียนหรรษา ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3 4.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และของขวัญของรางวัลกิจกรรมวันเด็ก เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างเบิกจ่าย 4.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ ขออนุมัติจัดกิจกรรมและประมาณการค่าใช้จ่ายเรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือกลุ่มงานบริหารแหล่งเรียนรู้ ที่ 66/2564 ลงวันที่ 18 มกราคม 2564 4.5 จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 3,410 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1,328 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3,298 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ชะลอการจัดกิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ชะลอการจัดกิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 3.2 ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมมือสร้างสรรค์ และกิจกรรมเป่าสีมหาสนุก ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรม Paper Plate Crafts for Kids ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม จิงโจ้น้ำ และกิจกรรม Color Dancing ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมเรียนรู้การใช้อุปกรณ์ครัว การถนอมอาหาร และพืชผักผลไม้ และกิจกรรมขนมบ้าบิ่น ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน กิจกรรมการเขียนอักษรพยัญชนะไทยแบบอาลักษณ์ และวาดภาพการ์ตูนล้อเลียน ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมนำชมนิทรรศการมนุษย์กับสิ่งประดิษฐ์ และกิจกรรมโฮโลแกรม ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียนและวัฒนธรรมสี่ภาค กิจกรรมร้อยมาลัยก้านมะพร้าว ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นชักสายเชิด นิทานเรื่อง กระต่ายกับเต่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม เล่านิทาน เรื่อง พระราชาเบิ้มจอมเกเร และกิจกรรมทะเลกระดาษ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม แฟนพันธุ์แท้ CDM และกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้เข้าชมแบบหมู่คณะ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการจำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 8,036 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,433 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 5,841 คน เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 9,465 คน เดือนเมษายน 2564 จำนวน 3,558 คน เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน – คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ 5 สมุนไพรบรรเทาหวัด, มาลัยมะลิทิชชู, ขนมกระเช้าสีดา, ประโยชน์ของการประกอบอาหาร, ไดฟูกุไส้สตรอว์เบอร์รี่, (info) คุกกี้เนยสด, คุกกี้เนยสด (ไลฟ์สด) และบราวนี่ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ สาระความรู้เรื่องการแรเงา, จินตนาการของฉันกับงานปั้น, ศิลปะการม้วนกระดาษ, ศิลปะในยุคหิน, ประเภทของสี, (info) เติมสี เติมจินตนาการ, เติมสี เติมจินตนาการ และเป่าสีตามจินตนาการ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ห้องสมุดมีชีวิต, แพร่ภาพสด เรื่องการแบ่งหมวดหมู่หนังสือ, ป๊อปอัพเรือ, ไดโนน้อย, (info) 5 รูปแบบยอดฮิต การเย็บสมุด, แพร่ภาพสด และแทนแกรม ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อ การเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ที่ติดตู้เย็นผีตาโขน, งอบไทย, ลูกประคบสมุนไพร, ประเพณีชักพระ, บั้งไฟเหินฟ้า, info การแพร่ภาพสดหนังสติ๊กยิงลูกยางนา และหนังสติ๊กยิงลูกยางนาประดิษฐ์ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นายกฤษฏ์ รุ่งศิลา ผู้นำกิจกรรมฯ สิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ดอกทิวลิปจากดอกพลาสติก, การวาดรูปการ์ตูนง่ายๆ, คอนโดใส่ของจากแกนกระดาษทิชชู, ขยะติดเชื้อ, เรื่องเล่าของเจ้าพลาสติก, info แขวนใจให้เธอ และแขวนใจให้เธอ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ แนะนำโซนไดโนเสาร์, ปอดลูกโป่ง, ตุ๊กตาโยกเยก, ทีเร็กซ์ ราชาแห่งไดโนเสาร์, รถพลังลูกโป่ง, info ภูเขาไฟ, ไลฟ์สด ภูเขาไฟ, ขั้นตอนการเข้าใช้บริการ ศูนย์การเรียนรู้สำหรับครอบครัว และประชาสัมพันธ์เพจเฟซบุ๊ก ศูนย์การเรียนรู้สำหรับครอบครัว ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ ผ้ามัดย้อม, เหรียญโปรยทาน, กระเป๋าสุดเก๋, คุณธรรมจริยธรรม, ช่างสิบหมู่ ep1, ช่างสิบหมู่ ep2, info ตระกร้าแฟนซี และตระกร้าแฟนซี ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ แตะสีตามคำบอก, มือเท้าก้าวให้ถูก, โยนถุงถั่ว, เกมเลื่อนภาพจากกล่องกระดาษ, สุขภาพดีด้วย บาสโลบ (info), สุขภาพดีด้วย บาสโลบ (สด), ดอกไม้กับตัวเลข, แนะนำบุคลากรและกฎระเบียบข้อปฏิบัติ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาวอนัญพร เทพรักษา ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ แพร่ภาพสดระบำไก่, สาธิตการทำแก้วกลลวง, สาธิตการทำดอกบัวที่ใช้ในการแสดง, แพร่ภาพสดระบำดอกบัว, ให้ความรู้ เรื่อง เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ, ให้ความรู้ หุ่นกระบอก และสาธิตการทำหุ่นนิ้วมือลังไข่ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 10. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ สาธิตกิจกรรมหมวกหนอนหลา, สาธิตกิจกรรมปิ่นปักผมส่าว, สาธิตกิจกรรม หมากเก็บมาเลเซีย, สื่อความรู้ Pag Pag อาหารฝุ่น, สื่อความรู้เรื่องวันชาติบรูไน, สาธิตกิจกรรมที่คาดหน้าผากกรุงวุส, info การแพร่ภาพสด Nasi lemak และแพร่ภาพสดกิจกรรม Nasi lemak ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3 4.3 จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 3,410 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1,328 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3,298 คน เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 5,899 คน เดือนเมษายน 2564 จำนวน 2,073 คน เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน - คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ยกเลิกการจัดกิจกรรม 2. ครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ยกเลิกการจัดกิจกรรม 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่เรื่อง ศิลปะจากกระดาษลัง ศิลปะจากแกนกระดาษทิชชู ศิลปะจากพลาสติกกันกระแทก และศิลปะการแต้มสี 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่เรื่อง Origami Phone Holders, Automata Toy, วิธีคัดแยกและจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อภายในบ้านและชุมชน และกรอบรูปจากสีไม้ 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง เรือดำน้ำหรรษา ภูเขาไฟเบคกิ้งโซดา กาลักน้ำ แรงดันอากาศมหัศจรรย์ และเมฆในขวด 4. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง การวาดภาพรูปแอปเปิ้ล การวาดภาพรูปแตงโม การวาดรูปมังคุด และการวาดรูปน้อยหน่า 5. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง กระเป๋ากล้องถ่ายรูป การ์ดช่อดอกมะลิ ลูกข่างกระดาษ ผีเสื้อหลอด และ Rubik’ s box 6. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง โมบายล์พระอาทิตย์ส่องแสง, ควรทำอย่างไรเมื่ออยากให้ลูกเป็นเด็กสองภาษา, งับ งับ Puppet และ Bedtime Story ดีอย่างไร 7. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง กิจกรรมเกมเลือกให้ถูก, งานบ้านที่เหมาะสมกับน้องๆ แต่ละช่วงวัย, กิจกรรมเกมทายชื่อโซนจากคำใบ้ และวิธีสร้างนิสัยจิตอาสาในวัยเด็ก 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) - ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ ประโยชน์ดี ๆ ของอาหารเช้า (คลิป1), เต้าหู้ (info), เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับนม (อินโฟ), อาหารบำรุงปอด (คลิป2), ประโยชน์ของไข่ไก่ (คลิป3), ติ่มซำ (info), ขนมจีบต้ม (Live) และสุดยอดแหล่งโปรตีนจากธรรมชาติ (คลิป4) ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ศิลปะการพ่นแอร์ชรัช, ศิลปะงานโมเสก, สีฝุ่นไทยโทน, ใบไม้ที่ทับถม, สถานที่รวมงานศิลปะในกรุงเทพมหานคร, ศิลปะจากน้ำกาแฟ, ศิลปะจากฝุ่นเปื้อนรถ, วัสดุที่ใช้ในการปั้น และใบไม้ของฉัน ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ Isekai ทำไมใคร ๆ ก็อยากไปต่างโลก, โลกซ่อนเร้นยามค่ำคืน, ไฟฉายส่องสัตว์, ประโยชน์ของการเขียนไดอารี, fairy tale, วิธีการพัฒนาทักษะการอ่าน, โดมิโนภาษาไทย และทำไมถึงเรียกนักเขียนการ์ตูนญี่ปุ่นว่า SENSEI ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อ การเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ปลาร้า (Info), ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง, กระต่ายขูดมะพร้าว, มะพร้าวพืชมหัศจรรย์ (info), live สัตว์กะลา, ประเพณีตีช้างน้ำนอง, หมอเมืองภูมิปัญญาล้านนารักษาโรค, การเผาถ่าน (info) และประเพณีลอยเรือชาวเล ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ info หิน, ระบบภูมิคุ้มกัน, ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต, การขยายพันธุ์พืช (info live), การตอนกิ่ง (live), 8 วิธีแยกสาร, info ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก, ภาพลวงตา และพัฒนาการในครรภ์ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 6. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ขันลงหิน (info), การแกะสลัก, ผ้าใยบัว (info Live), การทำหนังตะลุง, ขันโตก, พวงมโหตร, ลงรักปิดทอง และกระเป๋าสานผักตบชวา ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุด นักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 7. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ โรคที่มากับฝน, เรียนออนไลน์อย่างไรให้สนุก, กำจัดเหาด้วยวิธีธรรมชาติ, ดนตรีกับสมอง, สิ่งที่ต้องทำเมื่อกลับบ้าน, ทำความเข้าใจลูกพูดไม่หยุด, กีฬายกน้ำหนัก และกว่าจะมาถึงเหรียญทองโอลิมปิก ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 8. นางสาวเมธารัตน์ แก้วจันดา ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ศิลปะการแต่งหน้าโขน, เต้นกำรำเคียว, ภารตนาฏยัม, ลำลาว, ชุดไทยพระราชนิยม, ภาษาท่า, นาฏศิลป์สร้างสรรค์, การละเล่นของหลวง และละครใบ้ วันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 9. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ Info การขับรถในอาเซียน, กัมปงอาเยอร์ (หมู่บ้านกลางน้ำ), ตักบาตรข้าวเหนียวหลวงพระบาง, ยาวีไม่ใช่ภาษา, Info การเคี้ยวหมากของชาวเมียนมา, Info เทศกาล Fiesta ในประเทศฟิลิปปินส์, Live เทศกาล Kadayawan ประเทศฟิลิปปินส์ และเมอร์ไลออน ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ละวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(10) 07. จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการการศึกษาสำหรับผู้เรียนในกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ
07. จำนวนโครงการ/กิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้มีประสิทธิภาพในพื้นที่กรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :โครงการ

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(โครงการ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
4.00

95 / 100
2
4.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย อยู่ระหว่างเตรียมดำเนินการจัดกิจกรรม ดังนี้ 1.1 กิจกรรมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับเยาวชน กำหนดดำเนินการในเดือน ธ.ค. 63 - พ.ค. 64 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรม 1.2 กิจกรรมที่อยู่ระหว่างเตรียมการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ดำเนินการจัดซื้อวัสดุกิจกรรมและของขวัญของรางวัลเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างยืมเงินทดรองจ่ายค่าอาหาร และเตรียมดำเนินการจัดกิจกรรมในเดือนมกราคม 2564 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร 2.1 กิจกรรมหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ดังนี้ 2.1.1 กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2564 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุกิจกรรมแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างลงนามสัญญาจ้างทำบูธ เตรียมการจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 2.1.2 กิจกรรม Bangkok City Library Showcase กำหนดดำเนินการในเดือน ม.ค. - มิ.ย 64 อยู่ระหว่างเตรียมการจัดกิจกรรม ครั้งที่ 1 วันที่ 22 ม.ค. 63 ดำเนินการจัดซื้อวัสดุจัดกิจกรรมแล้วเสร็จ อยู่ระหว่างจ้างทำแผ่นป้ายและแผ่นพับกิจกรรม 2.1.3 กิจกรรมประจำเดือน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ย. 63 - ส.ค. 64 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรม ซึ่งดำเนินการจัดกิจกรรมไปแล้ว ดังนี้ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 18 พ.ย. 63 ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 27 พ.ย. 63 ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 63 2.2 ค่าบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นค่าจ้างเหมาบริการเป็นรายบุคคล เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาฯ ประจำเดือน พ.ย. 63 แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างเตรียมการเบิกจ่ายฯ ประจำเดือน ธ.ค. 63 ยอดเบิกจ่ายประจำเดือน พฤศจิกายน 2563 เป็นเงิน 104,765 บาท รวมเป็นเงิน 209,530 บาท 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อ 3.2 วิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ ดำเนินการสอนกิจกรรมตามโซนต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร แห่งที่ 1 (จตุจักร) ดังนี้ 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ วิทยากรกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมศิลปะภาพเงาและกิจกรรม MONSTER ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ วิทยากรกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรมตำลายดอกไม้ (Flower pounding to create faux watercolor paper) ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ วิทยากรกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม Color Dancing ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู วิทยากรกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมบานอฟฟี่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ วิทยากรกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน กิจกรรมวาดแสงและเงา และกิจกรรมวาดภาพการ์ตูนล้อเลียน ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น วิทยากรกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมไก่กระต๊าก และกิจกรรมมนุษย์กับสิ่งประดิษฐ์ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี วิทยากรกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียนและวัฒนธรรมสี่ภาพ และกิจกรรมจานรองจากใบตอง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง วิทยากรกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นนิ้วมือ นิทานเรื่อง กบเลือกนาย ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น วิทยากรกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเล่านิทานเรื่อง หนูเจ็ดตัว และกิจกรรม Paper Bag Book ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง วิทยากรกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม วงล้อวันเกิด และกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้เข้าชมแบบหมู่คณะ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินการจัดซื้อวัสดุสำหรับการจัดงานวันเด็กเรียบร้อยแล้ว กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 3.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 วิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ ดำเนินการสอนกิจกรรมตามโซนต่าง ๆ ภายในพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานคร แห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) ดังนี้ 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร วิทยากรกิจกรรมคหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมธรรมชาติสร้างสีสัน วุ้นแฟนซี และพระราชากับอาหารหลัก 5 หมู่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว วิทยากรกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมช่วงเวลาของแสงและเงา และรำลึกถึงพ่อหลวง รัชกาลที่ 9 ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวพัชรินทร์ ดิษด้วง วิทยากรกิจกรรมห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมผสมสระ ประกอบคำ อ่านสนุก ลูกเต๋าเล่าเรื่อง และเรื่องเล่าของพ่อ (ทองแดง) อาคาร 1 ชั้น 1 ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ วิทยากรกิจกรรมภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมทับทรวงกระดาษ หุ่นปลาดุ๊กดิ๊ก และกังหันน้ำของพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นางสาวธารารัตน์ โฆษิตอัมพรพัฒน์ วิทยากรกิจกรรมสิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมหมวกและกรอบรูป DIY และออมสินพอเพียง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นายจักรินทร์ กลั่นประดิษฐ์ วิทยากรกิจกรรมวิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมจรวดกระดาษ เครื่องร่อนฟิวเจอร์บอร์ด และดาวเรืองเพื่อพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด วิทยากรกิจกรรมหัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสานปลาตะเพียน พัดสานสร้างสรรค์ และดอกไม้ให้พ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ วิทยากรกิจกรรมสันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรม What Animals? ตัวอะไรกัน Animals ด๊อกแด๊ก และดนตรีของพ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวที - สันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาววราภรณ์ สุวรรณวัฒน์ วิทยากรกิจกรรมศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมนาฏศิลป์พื้นฐาน หนังตะลุงจิ๋ว และมาลัยให้พ่อ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 4.3 กิจกรรมวันเด็ก อยู่ระหว่างดำเนินการจัดซื้อวัสดุ กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 มกราคม 2564 4. กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2563 5. จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย 1.1 อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน 3 กิจกรรม ได้แก่ 1.1 กิจกรรมเปิดโลกนิทาน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ค. - มิ.ย. 2564 1.2 กิจกรรมสร้างสุขด้วยการอ่านกับผู้สูงอายุ กำหนดดำเนินการในเดือน มี.ค. - เม.ย. 2564 เลื่อนการจัดกิจกรรมเป็นวันที่ 9 เม.ย. - 28 พ.ค. 64 1.3 กิจกรรม BMA BOOK & LIBRARY FAIR กำหนดดำเนินการในวันที่ มี.ค. - เม.ย. 2564 ดำเนินการจัดทำ TOR แล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ดำเนินการจ้างเหมาจัดกิจกรรมตามกำหนดเวลา โดยขณะนี้ อยู่ระหว่างรออนุมัติเปลี่ยนแปลงระเบียบในการจัดกิจกรรมฯ ประกอบการขอเงินงวด และเตรียมการขออนุมัติการจัดกิจกรรมรอบที่ 2 ตามระเบียบใหม่ 1.2 ชะลอการจัดกิจกรรม จำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ ขอชะลอการจัดกิจกรรมและเลื่อนไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น 1.3 เลื่อนการจัดกิจกรรม จำนวน 1 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมพัฒนากระบวนการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสำหรับเยาวชน กำหนดดำเนินการในเดือน ธ.ค. 63 - พ.ค. 64 ขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปก่อน จนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) สามารถควบคุมได้หรือคลี่คลาย ตามหนังสือที่ 192/1264 ลงวันที่ 21 ม.ค. 64 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร 2.1 อยู่ระหว่างดำเนินการจัดกิจกรรมจำนวน 2 กิจกรรม ได้แก่ 2.1.1 กิจกรรมหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ได้ดำเนินการขออนุมัติจัดกิจกรรมเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างขออนุมัติเปลี่ยนแปลงค่าใช้จ่าย และขอเงินงวด ประกอบด้วย - กิจกรรม พอ.สร้าง.สุข กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ค. - ก.ค. 64 - กิจกรรมเล่าเรื่องเมืองกรุงเทพ (Bangkok Talk) กำหนดดำเนินการในเดือน เม.ย. - ก.ค. 64 2.1.2 ค่าบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานครเพื่อเป็นค่าจ้างเหมาบริการเป็นรายบุคคล เบิกจ่ายค่าจ้างเหมาฯ ประจำเดือน ม.ค. 64 แล้วเสร็จ อยู่ระหว่างการเบิกจ่ายฯ ประจำเดือน ก.พ. 64 ยอดเบิกจ่ายประจำเดือน มกราคม 2564 เป็นเงิน 104,765 บาท รวมเป็นเงิน 419,060 บาท 2.2 ชะลอการจัดกิจกรรม โดยชะลอการจัดกิจกรรมและเลื่อนไปจนกว่าสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) จะดีขึ้น จำนวน 3 กิจกรรม ขณะนี้อยู่ระหว่างเตรียมการจัดทำเอกสารขอเปลี่ยนแปลงวันจัดกิจกรรม ได้แก่ 2.2.1 กิจกรรมงานวันเด็กแห่งชาติ ประจำปี 2564 กำหนดจัดกิจกรรมในวันที่ 9 ม.ค. 64 2.2.2 กิจกรรมประจำเดือน กำหนดดำเนินการในเดือน พ.ย. 63 - ส.ค. 64 2.2.3 กิจกรรม Bangkok City Library Showcase กำหนดดำเนินการในเดือน ม.ค. - มิ.ย 64 2.3 สถิติผู้ใช้บริการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวนผู้เข้าใช้บริการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - 11 มีนาคม 2564 จำนวน 27,713 คน ในปีงบประมาณ 2564 ไม่มีผู้เข้าศึกษาดูงาน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 - 11 มีนาคม 2564 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 3.2 ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเมล็ดพืชสร้างสรรค์ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรม DIY SPIN DRUM ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม ร้อนปะทะเย็น (Hot and Cold) ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมพายข้าวโพดทอด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน และกิจกรรมวาดภาพดอกไม้ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมเครื่องร่อนหลอด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมดอกไม้ใบเตยหอม ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นเชิด นิทานเรื่อง กากับนกยูง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม PAPER KEYRING ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม CDM Bingo ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินกการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์และของขวัญของรางวัลเรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างรอกำหนดจัดกิจกรรมวันเด็ก ขณะนี้ได้รับความเห็นชอบให้เลื่อนการจัดกิจกรรมวันเด็ก จนกว่าสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จะคลีคลาย ตามหนังสือที่ กท 1204/056 ลงวันที่ 4 มกราคม 2564 3.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ กำหนดจัดกิจกรรมเดือน พฤษภาคม 2564 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 8,036 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,433 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 5,841 คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรม สบู่สู้โควิด และไดฟูกุ มุ้งมิ้ง ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสร้างสรรค์จินตนาการด้วยแอร์บรัช ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมโคมกระดาษ และเรื่องนี้หนูอยากเล่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมปี่เสียงนก และ พัดลมมือถือไม้ไผ่ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นายกฤษฏ์ รุ่งศิลา ผู้นำกิจกรรมฯ สิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมที่แขวนแสนหวาน และห่วงแห่งรัก ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมแป้งโดว์นำไฟฟ้า และตุ๊กตาลมคืนชีพ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมสร้อยข้อมือลูกปัด และพวงกุญแจลูกปัด ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมเกมถอดรหัส และ TIN CAN GAME ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาววราภรณ์ สุวรรณวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมนาฏศิลป์พื้นฐาน (เพลงงามแสงเดือน) หุ่นนิ้วมือลังไข่ และเครื่องดนตรีเจ้าป่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 10. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้และเป็นผู้นำกิจกรรมดอกไม้อาเซียน และกล่องอาเซียนหรรษา ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3 4.3 กิจกรรมวันเด็ก ดำเนินการจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ และของขวัญของรางวัลกิจกรรมวันเด็ก เรียบร้อยแล้ว อยู่ระหว่างเบิกจ่าย 4.4 กิจกรรมปิดเทอมเติมประสบการณ์ ขออนุมัติจัดกิจกรรมและประมาณการค่าใช้จ่ายเรียบร้อยแล้ว ตามหนังสือกลุ่มงานบริหารแหล่งเรียนรู้ ที่ 66/2564 ลงวันที่ 18 มกราคม 2564 4.5 จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 3,410 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1,328 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3,298 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ชะลอการจัดกิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) 2. โครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ชะลอการจัดกิจกรรม เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) 3.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 3.2 ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมมือสร้างสรรค์ และกิจกรรมเป่าสีมหาสนุก ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน Art Studio อาคารจักรวาล 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการสอนกิจกรรม Paper Plate Crafts for Kids ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซน DIY Space อาคารจักรวาล 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม จิงโจ้น้ำ และกิจกรรม Color Dancing ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 4. นายพิษณุ ไชยชมพู ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมครัวไทยวัยจิ๋ว ดำเนินการสอนกิจกรรมเรียนรู้การใช้อุปกรณ์ครัว การถนอมอาหาร และพืชผักผลไม้ และกิจกรรมขนมบ้าบิ่น ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนครัวไทยวัยจิ๋ว อาคารทอตะวัน 5. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรมระบายสีไม้ภาพลายเส้นการ์ตูน กิจกรรมการเขียนอักษรพยัญชนะไทยแบบอาลักษณ์ และวาดภาพการ์ตูนล้อเลียน ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนลานสร้างสรรค์ อาคารทอตะวัน 6. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการสอนกิจกรรมนำชมนิทรรศการมนุษย์กับสิ่งประดิษฐ์ และกิจกรรมโฮโลแกรม ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสโมสรนักประดิษฐ์ อาคารทอตะวัน 7. นายทิชากร จะมะรี ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียน ดำเนินการสอนกิจกรรมวัฒนธรรมอาเซียนและวัฒนธรรมสี่ภาค กิจกรรมร้อยมาลัยก้านมะพร้าว ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนโลกทั้งผองพี่น้องกัน อาคารทอตะวัน 8. นางสาวขวัญชนก หนูทอง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมละครโรงเล็ก ดำเนินการสอนกิจกรรมการเล่นบทบาทสมมุติจากหุ่นชักสายเชิด นิทานเรื่อง กระต่ายกับเต่า ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนละครโรงเล็ก อาคารทอตะวัน 9. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการสอนกิจกรรม เล่านิทาน เรื่อง พระราชาเบิ้มจอมเกเร และกิจกรรมทะเลกระดาษ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุดสร้างสรรค์ อาคารสายรุ้ง 10. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการสอนกิจกรรม แฟนพันธุ์แท้ CDM และกิจกรรมนันทนาการสำหรับผู้เข้าชมแบบหมู่คณะ ในวันอังคาร – วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ เวทีกลาง 3.5 จำนวนผู้เข้าใช้บริการจำนวนผู้เข้าใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 13,192 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 13,481 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 8,036 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 2,433 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 5,841 คน เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 9,465 คน เดือนเมษายน 2564 จำนวน 3,558 คน เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน – คน 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) 4.1 จัดซื้อวัสดุและอุปกรณ์สำหรับฐานการเรียนรู้ ชุดนิทรรศการ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องดำเนินการจัดซื้อเรียบร้อยแล้ว 4.2 ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ 5 สมุนไพรบรรเทาหวัด, มาลัยมะลิทิชชู, ขนมกระเช้าสีดา, ประโยชน์ของการประกอบอาหาร, ไดฟูกุไส้สตรอว์เบอร์รี่, (info) คุกกี้เนยสด, คุกกี้เนยสด (ไลฟ์สด) และบราวนี่ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ สาระความรู้เรื่องการแรเงา, จินตนาการของฉันกับงานปั้น, ศิลปะการม้วนกระดาษ, ศิลปะในยุคหิน, ประเภทของสี, (info) เติมสี เติมจินตนาการ, เติมสี เติมจินตนาการ และเป่าสีตามจินตนาการ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ห้องสมุดมีชีวิต, แพร่ภาพสด เรื่องการแบ่งหมวดหมู่หนังสือ, ป๊อปอัพเรือ, ไดโนน้อย, (info) 5 รูปแบบยอดฮิต การเย็บสมุด, แพร่ภาพสด และแทนแกรม ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อ การเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ที่ติดตู้เย็นผีตาโขน, งอบไทย, ลูกประคบสมุนไพร, ประเพณีชักพระ, บั้งไฟเหินฟ้า, info การแพร่ภาพสดหนังสติ๊กยิงลูกยางนา และหนังสติ๊กยิงลูกยางนาประดิษฐ์ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นายกฤษฏ์ รุ่งศิลา ผู้นำกิจกรรมฯ สิ่งประดิษฐ์ DIY ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ ดอกทิวลิปจากดอกพลาสติก, การวาดรูปการ์ตูนง่ายๆ, คอนโดใส่ของจากแกนกระดาษทิชชู, ขยะติดเชื้อ, เรื่องเล่าของเจ้าพลาสติก, info แขวนใจให้เธอ และแขวนใจให้เธอ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนขยะรีไซเคิล อาคาร 2 ชั้น 2 6. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ แนะนำโซนไดโนเสาร์, ปอดลูกโป่ง, ตุ๊กตาโยกเยก, ทีเร็กซ์ ราชาแห่งไดโนเสาร์, รถพลังลูกโป่ง, info ภูเขาไฟ, ไลฟ์สด ภูเขาไฟ, ขั้นตอนการเข้าใช้บริการ ศูนย์การเรียนรู้สำหรับครอบครัว และประชาสัมพันธ์เพจเฟซบุ๊ก ศูนย์การเรียนรู้สำหรับครอบครัว ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 7. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ ผ้ามัดย้อม, เหรียญโปรยทาน, กระเป๋าสุดเก๋, คุณธรรมจริยธรรม, ช่างสิบหมู่ ep1, ช่างสิบหมู่ ep2, info ตระกร้าแฟนซี และตระกร้าแฟนซี ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 8. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ แตะสีตามคำบอก, มือเท้าก้าวให้ถูก, โยนถุงถั่ว, เกมเลื่อนภาพจากกล่องกระดาษ, สุขภาพดีด้วย บาสโลบ (info), สุขภาพดีด้วย บาสโลบ (สด), ดอกไม้กับตัวเลข, แนะนำบุคลากรและกฎระเบียบข้อปฏิบัติ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 9. นางสาวอนัญพร เทพรักษา ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 7 เรื่อง ได้แก่ แพร่ภาพสดระบำไก่, สาธิตการทำแก้วกลลวง, สาธิตการทำดอกบัวที่ใช้ในการแสดง, แพร่ภาพสดระบำดอกบัว, ให้ความรู้ เรื่อง เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ, ให้ความรู้ หุ่นกระบอก และสาธิตการทำหุ่นนิ้วมือลังไข่ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 10. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ สาธิตกิจกรรมหมวกหนอนหลา, สาธิตกิจกรรมปิ่นปักผมส่าว, สาธิตกิจกรรม หมากเก็บมาเลเซีย, สื่อความรู้ Pag Pag อาหารฝุ่น, สื่อความรู้เรื่องวันชาติบรูไน, สาธิตกิจกรรมที่คาดหน้าผากกรุงวุส, info การแพร่ภาพสด Nasi lemak และแพร่ภาพสดกิจกรรม Nasi lemak ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3 4.3 จำนวนผู้ใช้บริการ เดือนตุลาคม 2563 จำนวน 10,043 คน เดือนพฤศจิกายน 2563 จำนวน 6,024 คน เดือนธันวาคม 2563 จำนวน 3,410 คน เดือนมกราคม 2564 จำนวน 1,328 คน เดือนกุมภาพันธ์ 2564 จำนวน 3,298 คน เดือนมีนาคม 2564 จำนวน 5,899 คน เดือนเมษายน 2564 จำนวน 2,073 คน เดือนพฤษภาคม 2564 จำนวน - คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. โครงการส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ยกเลิกการจัดกิจกรรม 2. ครงการบริหารจัดการหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร ยกเลิกการจัดกิจกรรม 3. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 1 (จตุจักร) ผู้นำกิจกรรมประจำฐานการเรียนรู้ - ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนแปลงรายละเอียดค่าใช้จ่ายค่าตอบแทนวิทยากรประจำฐานการเรียนรู้ เป็น ค่าตอบแทนผู้นำกิจกรรม จำนวน 10 คน x 2 ชั่วโมง x 500.-บาท ปฏิบัติงานในวันที่ 22 ธันวาคม 2563 – 30 กันยายน 2564 ตามหนังสือสำนักงบประมาณ ด่วนที่สุด ที่ กท 1905/119 ลงวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2564 โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นายกัญจน์ มารัตนเกียรติ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่เรื่อง ศิลปะจากกระดาษลัง ศิลปะจากแกนกระดาษทิชชู ศิลปะจากพลาสติกกันกระแทก และศิลปะการแต้มสี 2. นางสาววรางคณา พรหมประดิษฐ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรม DIY Space ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่เรื่อง Origami Phone Holders, Automata Toy, วิธีคัดแยกและจัดการขยะมูลฝอยติดเชื้อภายในบ้านและชุมชน และกรอบรูปจากสีไม้ 3. นางสาวณรัณชภร วชิระ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมวิทยาศาสตร์สร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง เรือดำน้ำหรรษา ภูเขาไฟเบคกิ้งโซดา กาลักน้ำ แรงดันอากาศมหัศจรรย์ และเมฆในขวด 4. นายวิทยา เอมาวัฒน์ ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมลานสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง การวาดภาพรูปแอปเปิ้ล การวาดภาพรูปแตงโม การวาดรูปมังคุด และการวาดรูปน้อยหน่า 5. นางสาววรางคณา บุญเม่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมสโมสรนักประดิษฐ์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง กระเป๋ากล้องถ่ายรูป การ์ดช่อดอกมะลิ ลูกข่างกระดาษ ผีเสื้อหลอด และ Rubik’ s box 6. นางสาวธนัชพร จึงแย้มปิ่น ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมห้องสมุดสร้างสรรค์ ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง โมบายล์พระอาทิตย์ส่องแสง, ควรทำอย่างไรเมื่ออยากให้ลูกเป็นเด็กสองภาษา, งับ งับ Puppet และ Bedtime Story ดีอย่างไร 7. นายภาคภูมิ ศรีงามผ่อง ผู้นำกิจกรรมกิจกรรมนันทนาการสำหรับเด็ก ดำเนินการจัดทำสื่อการเรียนรู้และเผยแพร่ เรื่อง กิจกรรมเกมเลือกให้ถูก, งานบ้านที่เหมาะสมกับน้องๆ แต่ละช่วงวัย, กิจกรรมเกมทายชื่อโซนจากคำใบ้ และวิธีสร้างนิสัยจิตอาสาในวัยเด็ก 4. โครงการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) - ผู้นำกิจกรรมที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน แต่งตั้งผู้นำกิจกรรมฯ ณ พิพิธภัณฑ์เด็กกรุงเทพมหานครแห่งที่ 2 (ทุ่งครุ) เรียบร้อยแล้ว โดยมีผู้นำกิจกรรมประกอบด้วย 1. นางสาวกัญจน์ วรฤทธิ์เรืองอุไร ผู้นำกิจกรรมฯ คหกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ ประโยชน์ดี ๆ ของอาหารเช้า (คลิป1), เต้าหู้ (info), เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับนม (อินโฟ), อาหารบำรุงปอด (คลิป2), ประโยชน์ของไข่ไก่ (คลิป3), ติ่มซำ (info), ขนมจีบต้ม (Live) และสุดยอดแหล่งโปรตีนจากธรรมชาติ (คลิป4) ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 1 2. นายเลิศชาย มณีวาว ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะสร้างสรรค์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ศิลปะการพ่นแอร์ชรัช, ศิลปะงานโมเสก, สีฝุ่นไทยโทน, ใบไม้ที่ทับถม, สถานที่รวมงานศิลปะในกรุงเทพมหานคร, ศิลปะจากน้ำกาแฟ, ศิลปะจากฝุ่นเปื้อนรถ, วัสดุที่ใช้ในการปั้น และใบไม้ของฉัน ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนศิลปะ อาคาร 1 ชั้น 2 3. นางสาวกชกร โสวภาค ผู้นำกิจกรรมฯ ห้องสมุด ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ Isekai ทำไมใคร ๆ ก็อยากไปต่างโลก, โลกซ่อนเร้นยามค่ำคืน, ไฟฉายส่องสัตว์, ประโยชน์ของการเขียนไดอารี, fairy tale, วิธีการพัฒนาทักษะการอ่าน, โดมิโนภาษาไทย และทำไมถึงเรียกนักเขียนการ์ตูนญี่ปุ่นว่า SENSEI ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนห้องสมุด อาคาร 1 ชั้น 1 4. นายธีระพันธ์ คำไล้ ผู้นำกิจกรรมฯ ภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทย ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อ การเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ปลาร้า (Info), ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง, กระต่ายขูดมะพร้าว, มะพร้าวพืชมหัศจรรย์ (info), live สัตว์กะลา, ประเพณีตีช้างน้ำนอง, หมอเมืองภูมิปัญญาล้านนารักษาโรค, การเผาถ่าน (info) และประเพณีลอยเรือชาวเล ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 5. นางสาวกรองขวัญ ขามก้อน ผู้นำกิจกรรมฯ วิทยาศาสตร์ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ info หิน, ระบบภูมิคุ้มกัน, ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต, การขยายพันธุ์พืช (info live), การตอนกิ่ง (live), 8 วิธีแยกสาร, info ยอดเขาที่สูงที่สุดในโลก, ภาพลวงตา และพัฒนาการในครรภ์ ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนไดโนเสาร์ อาคาร 1 ชั้น 3 6. นางสาวปลฉัตร กลิ่นบางพูด ผู้นำกิจกรรมฯ หัตถกรรม ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ขันลงหิน (info), การแกะสลัก, ผ้าใยบัว (info Live), การทำหนังตะลุง, ขันโตก, พวงมโหตร, ลงรักปิดทอง และกระเป๋าสานผักตบชวา ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุด นักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนนิทรรศการ อาคาร 1 ชั้น 2 7. นางสาวณัฐกฤตา เฟื่องจันทร์ ผู้นำกิจกรรมฯ สันทนาการ ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ โรคที่มากับฝน, เรียนออนไลน์อย่างไรให้สนุก, กำจัดเหาด้วยวิธีธรรมชาติ, ดนตรีกับสมอง, สิ่งที่ต้องทำเมื่อกลับบ้าน, ทำความเข้าใจลูกพูดไม่หยุด, กีฬายกน้ำหนัก และกว่าจะมาถึงเหรียญทองโอลิมปิก ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนเวทีสันทนาการ อาคาร 1 ชั้น 1 8. นางสาวเมธารัตน์ แก้วจันดา ผู้นำกิจกรรมฯ ศิลปะการแสดง ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 9 เรื่อง ได้แก่ ศิลปะการแต่งหน้าโขน, เต้นกำรำเคียว, ภารตนาฏยัม, ลำลาว, ชุดไทยพระราชนิยม, ภาษาท่า, นาฏศิลป์สร้างสรรค์, การละเล่นของหลวง และละครใบ้ วันอังคาร - วันอาทิตย์ และวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น. ณ โซนสวนส้ม อาคาร 2 ชั้น 1 9. นางสาวปณิดา ใจดี ผู้นำกิจกรรมฯ ต้นกล้าอาเซียน ทำหน้าที่ให้ความรู้โดยการผลิตสื่อการเรียนรู้ออนไลน์จำนวน 8 เรื่อง ได้แก่ Info การขับรถในอาเซียน, กัมปงอาเยอร์ (หมู่บ้านกลางน้ำ), ตักบาตรข้าวเหนียวหลวงพระบาง, ยาวีไม่ใช่ภาษา, Info การเคี้ยวหมากของชาวเมียนมา, Info เทศกาล Fiesta ในประเทศฟิลิปปินส์, Live เทศกาล Kadayawan ประเทศฟิลิปปินส์ และเมอร์ไลออน ในวันอังคาร - วันอาทิตย์ละวันหยุดนักขัตฤกษ์ เวลา 10.00 – 16.00 น ณ โซนอาเซียน อาคาร 1 ชั้น 3

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(11) 08. จำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตที่มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๓ ประชาชนมีโอกาสศึกษาตลอดชีวิต
08. จำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตที่มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

หน่วยนับ :ห้อง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :36.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ห้อง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
36.00

0 / 0
4
36.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือประสานงานกับหน่วยงานร่วมจัดกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำโรคโควิด 19 ทำให้ไม่สามาถดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากรห้องสมุดเพื่อพัฒนาห้องสมุดฯ เป็นห้องสมุดมีชีวิตกับหน่วยงานร่วมจัดได้ จึงขอเปลี่ยนกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดนี้เป็นการจัดทำบรรณิทัศน์ออนไลน์ ซึ่งจะดำเนินการในเดือน พ.ค. 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่างฤษภาคม – มิถุนายน 2564 รวมจำนวน 324 ชื่อเรื่อง 2. ประชาสัมพันธ์ ทำการประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก ทั้งการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว (http://www.bangkok.go.th/cstd) แอปพลิเคชัน BKK Connect เว็บไซต์ของห้องสมุดทั้ง 36 แห่ง และการประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียล มีเดีย (Social Media) ของห้องสมุด เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) เป็นต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่าง พฤษภาคม – กันยายน จำนวน 828 ชื่อเรื่อง 2. ดำเนินการประชาสัมพันธ์บรรณานิทัศน์ออนไลน์ประจำเผ่านทางเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ 3 สถิติการเข้าชมบรรณนิทัศน์ออนไลน์ นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนสิงหาคม เป็นจำนวน 316,259 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(12) 08. จำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตที่มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน
[มิติที่ 1 : ]

๓.๓.๒ โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครสามารถให้บริการการศึกษาสำหรับผู้เรียนในกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษ
08. จำนวนห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ที่ได้รับการพัฒนาเป็นห้องสมุดมีชีวิตที่มีความทันสมัยสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน

หน่วยนับ :ห้อง

เป้าหมาย :3.00

ผลงาน :36.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ห้อง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
36.00

0 / 0
4
36.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือประสานงานกับหน่วยงานร่วมจัดกิจกรรม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เนื่องจากสถานการณ์การระบาดซ้ำโรคโควิด 19 ทำให้ไม่สามาถดำเนินการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับบุคลากรห้องสมุดเพื่อพัฒนาห้องสมุดฯ เป็นห้องสมุดมีชีวิตกับหน่วยงานร่วมจัดได้ จึงขอเปลี่ยนกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดนี้เป็นการจัดทำบรรณิทัศน์ออนไลน์ ซึ่งจะดำเนินการในเดือน พ.ค. 2564

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่างฤษภาคม – มิถุนายน 2564 รวมจำนวน 324 ชื่อเรื่อง 2. ประชาสัมพันธ์ ทำการประชาสัมพันธ์ในเชิงรุก ทั้งการประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว (http://www.bangkok.go.th/cstd) แอปพลิเคชัน BKK Connect เว็บไซต์ของห้องสมุดทั้ง 36 แห่ง และการประชาสัมพันธ์ผ่านโซเชียล มีเดีย (Social Media) ของห้องสมุด เช่น เฟซบุ๊ก (Facebook) ไลน์ (Line) เป็นต้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการพัฒนาห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ให้เป็นห้องสมุดมีชีวิตผ่านการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ โดยได้ดำเนินการดังนี้ 1. ห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ทั้ง 36 แห่ง ดำเนินการจัดทำบรรณนิทัศน์ออนไลน์ระหว่าง พฤษภาคม – กันยายน จำนวน 828 ชื่อเรื่อง 2. ดำเนินการประชาสัมพันธ์บรรณานิทัศน์ออนไลน์ประจำเผ่านทางเว็บไซต์ และสื่อสังคมออนไลน์ 3 สถิติการเข้าชมบรรณนิทัศน์ออนไลน์ นับตั้งแต่เดือนพฤษภาคมจนถึงเดือนสิงหาคม เป็นจำนวน 316,259 ครั้ง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(13) 1.2 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมของเครือข่ายด้านพหุวัฒนธรรมเชิงพื้นที่ในกรุงเทพมหานครที่จัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาครบถ้วนตามที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
1.2 ระดับความสำเร็จในการจัดกิจกรรมของเครือข่ายด้านพหุวัฒนธรรมเชิงพื้นที่ในกรุงเทพมหานครที่จัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาครบถ้วนตามที่กำหนด

หน่วยนับ :ระดับ

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :6.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ระดับ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
2.00

0 / 0
3
2.00

0 / 0
4
6.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. โครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการทำหนังสือเชิญวิทยากรและหนังสือตอบรับวิทยากรในการเสวนาทั้ง 3 สาขา ได้แก่ สาขาศิลปะการแสดง สาขาทัศนศิลป์ สาขาดนตรีและการขับร้องรวมทั้งหนังสือเชิญผู้เข้าร่วมงาน และจัดทำหนังสือขอใช้สถานที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ๒. โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร กำหนดวันประชุมคณะกรรมส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2564 ในวันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องเอราวัณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ขณะนี้อยู่ในระหว่างจัดทำหนังสือเชิญประชุม และจัดทำระเบียบวาระการประชุม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 1. การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร - ดำเนินการจัดการประชุมฯ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 ที่ประชุมได้คัดเลือกรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครเพื่อจัดทำ มภ.2 และขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญากรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2564 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1) ตำนานท้าวอู่ทอง เขตบางเขน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2) นเสบ สาขาศิลปะการแสดง 3) งานประเพณีแห่เรือชักพระหลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดเวตวันธรรมาวาส (วัดเซิงหวาย) เขตบางซื่อ สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4) ตำรับอาหารชาววัง พระวิมาดาเธอฯ เขตดุสิต สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6) การแข่งว่าว สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 2. กิจกรรมพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ในแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการท่องเที่ยว กำหนดสถานที่ลงพื้นที่จัดกิจกรรม 3 แห่ง ดังนี้ 1) ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 2) นเสบ สาขาศิลปะการแสดง 3) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 3. จัดทำวีดีทัศน์รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี จำนวน 3 รายการ อยู่ในระหว่างจัดทำ TOR ดังนี้ 1) ตำราดูลักษณะแมวของสมเด็จพระพุฒาจารย์ พุทธสรมหาเถระ (นวม พุทฺธสโร) วัดอนงคาราม เขตคลองสาน 2) ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 3) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 4. จัดทำนิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร อยู่ในระหว่างจัดทำ TOR นิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการขึ้นบัญชีในปี พ.ศ. 2563 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1) ตำนานจระเข้ดาวคะนอง สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2) สำนักดนตรีไทยหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) สาขาศิลปะการแสดง 3) ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4) ขนมตึงตัง เขตบางนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) ผ้าไหมบ้านครัว เขตราชเทวี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 2. กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลปรับปรุงองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในแต่ละสาขาให้ทันสมัยมากขึ้น จากการสัมภาษณ์จากผู้รู้ในแหล่งเรียนรู้ จำนวน 3 สาขา ได้แก่ สาขาศิลปะการแสดง สาขาทัศนศิลป์ สาขาดนตรีและการขับร้อง และเตรียมลงพิ้นที่จัดเก็บข้อมูลสาขาสถาปัตยกรรม ในเขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 17 - 19 มีนาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว โดยมีนายสมบูรณ์ หอมนาน เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายในรูปแบบเสวนาวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย - วันที่ 17 มีนาคม 2564 สาขาศิลปะการแสดง มีกิจกรรม ดังนี้ 1.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” 1.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ 1.3 การจัดแสดงนิทรรสการผลงานของสมาขิกเครือข่ายสาขาศิลปะการแสดง - วันที่ 18 มีนาคม 2564 สาขาทัศนศิลป์ มีกิจกรรม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” 2.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ 2.3 กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะCollage Art 2.4 กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ 2.5 การจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่ายสาขาทัศนศิลป์ - วันที่ 19 มีนาคม 2564 สาขาดนตรีและการขับร้อง มีกิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมจัดเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” 3.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง 3.3 จัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ เจ้าหน้าที่ส่วนวัฒนธรรม ข้าราชการครูผู้สอนวิชาดนตรี โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต จำนวนสาขาละ 147 คน จำนวน 3 วัน รวมทั้งสิ้นจำนวน 441 คน โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 1. การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร - อยู่ระหว่างค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารเพื่อจัดทำ มภ.2 รายการ มรดกภูมิปัญญาฯ ที่ได้รับคัดเลือกขึ้นบัญชี ประจำปี 2564 และกำหนดประชุมอีกครั้งในเดือนสิงหาคม 2. กิจกรรมพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ในแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการท่องเที่ยว – งดการจัดกิจกรรมเนื่องจากมเป็นการรวมตัวของกลุ่มเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร และต้องมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ยังคงรุนแรงอยู่ 3. กิจกรรมจัดทำวีดีทัศน์รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี – ได้ผู้รับจ้างจัดทำแล้ว อยู่ในระหว่างพิจารณา story board สำหรับการจัดทำวีดิทัศน์ และรูปแบบของนิทรรศการที่จะจัดทำ รวมถึงการวิเคราะห์ และตรวจทานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาฯ ที่จะนำเสนอ 4. กิจกรรมจัดทำนิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร – ได้ผู้รับจ้างจัดทำแล้ว อยู่ในระหว่างพิจารณา story board และรูปแบบของนิทรรศการที่จะจัดทำ รวมถึงการวิเคราะห์ และตรวจทานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาฯ ที่จะนำเสนอ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายละเอียดผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ดำเนินการจัดกิจกรรมของเครือข่ายด้านพหุวัฒนธรรมเชิงพื้นที่ในกรุงเทพมหานครที่จัดกิจกรรมเพื่อการพัฒนาจำนวน 6 เครือข่าย 29 กิจกรรม ดังนี้ 1. เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร สาขาศิลปะการแสดง 3 กิจกรรม 1.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา 1.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ 1.3 การจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย สาขาศิลปะการแสดง 2. เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร สาขาทัศนศิลป์ 5 กิจกรรม 2.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร 2.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ ภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ 2.3 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ สร้างสรรค์ศิลปะCollage Art 2.4 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ สร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ 2.5 การจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย 3. เครือข่ายศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร สาขาดนตรีและการขับร้อง 3 กิจกรรม 3.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร 3.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง 3.3 จัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย 4. เครือข่ายกีฬาว่าวจุฬา - ปักเป้า เขตตลิ่งชัน 5 กิจกรรม 4.1 ลงพื้นที่สัมภาษณ์และเก็บข้อมูล การแข่งขันว่าวไทยจุฬา - ปักเป้า เพื่อจัดทำแบบ มภ. 2 รายการ การแข่งว่าวจุฬา – ปักเป้า สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว สำหรับการขึ้นบัญชีมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ.2564 4.2 ประชุมเตรียมการจัดการแข่งขันว่าวไทยจุฬา - ปักเป้า ของชมรมว่าวจุฬา-ปักเป้า ฝั่งธนบุรี 4.3 กิจกรรมการแข่งขันว่าวไทยจุฬา - ปักเป้า ของชมรมว่าวจุฬา-ปักเป้าฝั่งธนบุรี ในงานอนุรักษ์และสืบสานตำนานว่าวไทย ณ วัดกำแพง 4.4 กิจกรรม ICONSIAM SUMMER KITE PLAYGROUND ณ ICONSIAM 4.5 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมในรายการเพื่อนพระจันทร์ ตอน ประวัติว่าวไทย 5. เครือข่ายวัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง 7 กิจกรรม 5.1 ประชุมเตรียมการจัดงานประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) 5.2 จัดกิจกรรมประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) 5.3 ประชาสัมพันธ์การจัดงานประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) 5.4 ประกาศขึ้นบัญชี รายการประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 5.5 กิจกรรมจัดทำวีดิทัศน์ ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) 5.6 กิจกรรมจัดทำชุดนิทรรศการ ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) 5.7 กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ และจัดทำแบบทดสอบการเรียนรู้ รายการ ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เพื่อเผยแพร่แก่เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 6. เครือข่ายค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม 6 กิจกรรม 6.1 ประชุมเตรียมการจัดทำวีดิทัศน์และชุดนิทรรศการ 6.2 ประกาศขึ้นบัญชี รายการศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2563 6.3 กิจกรรมจัดทำวีดิทัศน์ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม 6.4 กิจกรรมจัดทำชุดนิทรรศการศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม 6.5 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมในรายการเพื่อนพระจันทร์ ตอน ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจำชาติไทย ค่ายพระยาตาก อาจารย์กฤษณ์ ฤทธิ์เดชา 6.6 กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ และจัดทำแบบทดสอบการเรียนรู้ รายการ ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(14) 09. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาเพื่อรองรับการท่องเที่ยว
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
09. จำนวนแหล่งเรียนรู้ด้านพหุวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครได้รับการพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหาเพื่อรองรับการท่องเที่ยว

หน่วยนับ :แห่ง

เป้าหมาย :6.00

ผลงาน :6.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(แห่ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
6.00

0 / 0
3
6.00

0 / 0
4
6.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

๑. โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร กำหนดวันประชุมคณะกรรมส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 1/2564 ในวันพฤหัสบดีที่ 28 มกราคม 2564 เวลา 10.00 น. ณ ห้องเอราวัณ ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ขณะนี้อยู่ในระหว่างจัดทำหนังสือเชิญประชุม และจัดทำระเบียบวาระการประชุม ๒. กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการประสานพื้นที่เพื่อลงจัดเก็บข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งอยู่ระหว่างการตอบรับเพื่อลงพื้นที่จัดเก็บข้อมูล และสืบค้น รวบรวมข้อมูลปรับปรุงองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในแต่ละสาขาให้ทันสมัยมากขึ้น

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร - ดำเนินการจัดการประชุมฯ ครั้งที่ 1/2564 เมื่อวันที่ 23 มีนาคม 2564 ที่ประชุมได้คัดเลือกรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครเพื่อจัดทำ มภ.2 และขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญากรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2564 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1) ตำนานท้าวอู่ทอง เขตบางเขน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2) นเสบ สาขาศิลปะการแสดง 3) งานประเพณีแห่เรือชักพระหลวงพ่อสัมฤทธิ์ วัดเวตวันธรรมาวาส (วัดเซิงหวาย) เขตบางซื่อ สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4) ตำรับอาหารชาววัง พระวิมาดาเธอฯ เขตดุสิต สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6) การแข่งว่าว สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 2. กิจกรรมพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ในแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการท่องเที่ยว กำหนดสถานที่ลงพื้นที่จัดกิจกรรม 3 แห่ง ดังนี้ 1) ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 2) นเสบ สาขาศิลปะการแสดง 3) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 3. จัดทำวีดีทัศน์รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี จำนวน 3 รายการ อยู่ในระหว่างจัดทำ TOR ดังนี้ 1) ตำราดูลักษณะแมวของสมเด็จพระพุฒาจารย์ พุทธสรมหาเถระ (นวม พุทฺธสโร) วัดอนงคาราม เขตคลองสาน 2) ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 3) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการละเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 4. จัดทำนิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร อยู่ในระหว่างจัดทำ TOR นิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการขึ้นบัญชีในปี พ.ศ. 2563 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1) ตำนานจระเข้ดาวคะนอง สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2) สำนักดนตรีไทยหลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปะบรรเลง) สาขาศิลปะการแสดง 3) ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ (วัดสุทธาโภชน์) เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4) ขนมตึงตัง เขตบางนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5) ผ้าไหมบ้านครัว เขตราชเทวี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6) ศิลปะป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 2. กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนา ปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร รวบรวมข้อมูลปรับปรุงองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในแต่ละสาขาให้ทันสมัยมากขึ้น จากการสัมภาษณ์จากผู้รู้ในแหล่งเรียนรู้ จำนวน 3 สาขา ได้แก่ สาขาศิลปะการแสดง สาขาทัศนศิลป์ สาขาดนตรีและการขับร้อง และเตรียมลงพิ้นที่จัดเก็บข้อมูลสาขาสถาปัตยกรรม ในเขตพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร 1. การประชุมคณะกรรมการส่งเสริมและรักษามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร - อยู่ระหว่างค้นคว้าข้อมูลจากเอกสารเพื่อจัดทำ มภ.2 รายการ มรดกภูมิปัญญาฯ ที่ได้รับคัดเลือกขึ้นบัญชี ประจำปี 2564 และกำหนดประชุมอีกครั้งในเดือนสิงหาคม 2. กิจกรรมพัฒนาและปรับปรุงเนื้อหามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ในแหล่งเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานครเพื่อรองรับการท่องเที่ยว – งดการจัดกิจกรรมเนื่องจากมเป็นการรวมตัวของกลุ่มเครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร และต้องมีการลงพื้นที่เก็บข้อมูล ซึ่งปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ยังคงรุนแรงอยู่ 3. กิจกรรมจัดทำวีดีทัศน์รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี – ได้ผู้รับจ้างจัดทำแล้ว อยู่ในระหว่างพิจารณา story board สำหรับการจัดทำวีดิทัศน์ และรูปแบบของนิทรรศการที่จะจัดทำ รวมถึงการวิเคราะห์ และตรวจทานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาฯ ที่จะนำเสนอ 4. กิจกรรมจัดทำนิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร – ได้ผู้รับจ้างจัดทำแล้ว อยู่ในระหว่างพิจารณา story board และรูปแบบของนิทรรศการที่จะจัดทำ รวมถึงการวิเคราะห์ และตรวจทานข้อมูลมรดกภูมิปัญญาฯ ที่จะนำเสนอ กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนา ปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร - รวบรวมเนื้อหาองค์ความรู้เพิ่มเติม ทั้ง 9 สาขา ประกอบด้วย สาขาทัศนศิลป์ สาขาศิลปะการแสดง สาขาวรรณศิลป์ สาขาดนตรีและขับร้อง สาขาสถาปัตยกรรม สาขามัณฑนศิลป์ สาขาเรขศิลป์ สาขาภาพยนตร์ และสาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย - ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลองค์ความรู้เพิ่มเติม ทั้ง 9 สาขา โดย ผู้เชี่ยวชาญ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ค่าเป้าหมาย ๖ แห่ง ดังนี้ 1. วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง. 2. ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม 3. วัดอนงคาราม เขตคลองสาน 4. สถาบัน แด๊นซ์ เซ็นเตอร์ เขตวัฒนา 5. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตธนบุรี 6. เรือนบรรเลง มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เขตพญาไท รายละเอียดโครงการ 1. โครงการอนุรักษ์ ส่งเสริม เผยแพร่ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร งบประมาณ ๔๘๔,๐๐๐.- บาท (ดำเนินการ) (สธท.) - ดำเนินการจัดทำวีดีทัศน์ และนิทรรศการรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชีมรดภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร เพื่อรองรับการท่องเที่ยว รายละเอียดดังนี้ 1. วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง เรื่อง ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือวัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 โดยกลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ลงพื้นที่ถ่ายทำวีดิทัศน์ เมื่อวันเสาร์ที่ 7 สิงหาคม 2564 ในการนี้ได้สัมภาษณ์พระครูวิมลสุทธาภิวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดสุทธาโภชน์ อาจารย์ปราณีต อนงค์ กรรมการและผู้ประสานงานวัด และนายแฉล้ม ระย้า ไวยาวัจกรวัด เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของวัด คุณค่าของประเพณี ความร่วมมือของชุมชน ตลอดจนแนวทางการอนุรักษ์ประเพณี 2. ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม เรื่อง ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้านและศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ซึ่งได้รับการประกาศให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 โดยกลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ลงพื้นที่ถ่ายทำวีดิทัศน์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ 15 สิงหาคม 2564 ในการนี้ ได้สัมภาษณ์อาจารย์กฤษณ์ ฤทธิ์เดชา และลูกศิษย์ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของค่ายพระยาตาก ประเภท เอกลักษณ์และหลักสูตรการเรียนการสอน ตลอดจนแนวทางการสืบทอดและส่งเสริมให้เยาวชนและประชาชนเรียนรู้ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว 3. วัดอนงคาราม เขตคลองสาน เรื่อง ตำราดูลักษณะแมวของสมเด็จพระพุฒาจารย์ พุทธสรมหาเถระ (นวม พุทธสโร) วัดอนงคาราม เขตคลองสาน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา ซึ่งเป็นตำราดูลักษณะแมวไทยพันธุ์โบราณ และได้รับการประกาศให้เป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2561 โดยกลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว กรุงเทพมหานคร ลงพื้นที่ถ่ายทำวีดิทัศน์ เมื่อวันเสาร์ที่ 21 สิงหาคม 2564 เเละได้รับความกรุณาจากพระมหาคุณัฐ สุภกิจโจ ในการเปิดพื้นที่ภายในพระวิหาร พระอุโบสถให้ได้เข้าเยี่ยมชมพื้นที่และถ่ายทำวีดิทัศน์ รวมถึงการใช้พื้นที่ภายในห้องสมุดเพื่อการเรียนรู้ อนงคาราม เป็นสถานที่เล่าเรื่อง โดยมีคุณปู (จิตกร บุษบา) นักวิชาการอิสระด้านศิลปวัฒนธรรม เเละคุณปรีชา วัฒนา ผู้อนุรักษ์แมวไทยโบราณ มาร่วมถ่ายทอดเเละให้ความรู้เกี่ยวกับเเมวไทยโบราณ การดูลักษณะแมวดี และโทษของแมวร้ายตามตำราอันจะเกิดแก่ผู้เลี้ยงหรือเจ้าของ รวมถึงแมวไทยโบราณที่คงเหลือเพียงไม่กี่สายพันธุ์ในปัจจุบันด้วย โดยตลอดการถ่ายทำคำนึงถึงมาตรการการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การเว้นระยะห่าง และสวมหน้ากากอนามัย ๒. กิจกรรมเสริมสร้างพัฒนาปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) (สธท.) ดำเนินการพัฒนาปรับปรุงข้อมูลความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ผ่านการเสวนาวิชาการร่วมกับผู้แทนจากแหล่งเรียนรู้ ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร 3 สาขา ได้แก่ สาขาดนตรีและการขับร้อง สาขาศิลปะการแสดง และ ดังนี้ 1. สถาบัน แด๊นซ์ เซ็นเตอร์ เขตวัฒนา แหล่งเรียนรู้สาขาศิลปะการแสดง คุณวรารมย์ ปัจฉิมสวัสดิ์ ประธานมูลนิธิเพื่อนศิลปะ ผู้ก่อตั้งสถาบัน แด๊นซ์ เซ็นเตอร์ เป็นผู้แทนจากแหล่งเรียนรู้ เข้าร่วมการเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2564 2. มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เขตธนบุรี แหล่งเรียนรู้สาขาทัศนศิลป์ รองศาสตราจารย์ พีระพงษ์ กุลพิศาล ประธานหลักสูตรสาขาทัศนศิลป์ บัณฑิตวิทยาลัยม.ราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา เป็นผู้แทนจากแหล่งเรียนรู้เข้าร่วมการเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2564 3. เรือนบรรเลง มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เขตพญาไท นายอัษฎาวุธ สาคริก เลขาธิการ มูลนิธิหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) เป็นผู้แทนจากแหล่งเรียนรู้เข้าร่วมการเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” เมื่อวันที่ 19 มีนาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(15) 10. จำนวนกิจกรรมการอนุรักษ์ส่งเสริมด้านพหุวัฒนธรรมของประชาชนกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
10. จำนวนกิจกรรมการอนุรักษ์ส่งเสริมด้านพหุวัฒนธรรมของประชาชนกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :กิจกรรม/ปี

เป้าหมาย :6.00

ผลงาน :7.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(กิจกรรม/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
5.00

95 / 100
2
7.00

0 / 0
3
7.00

0 / 0
4
15.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางประเพณีประจำปี 2564 - ยกเลิกการจัดกิจกรรการจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี 2564 เนื่องจากสถานการณ์เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ตามการพิจารณาของที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 19/2563 ) 2. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ประจำปี 2564 อยู่ระหว่างจัดเตรียมรายละเอียดในการจัดพิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจำปีพระพุทธศักราช 2564 ซึ่งกำหนดจัดงานในวันศุกร์ที่ 26 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 3. กิจกรรมบันทึก “เพลง เรื่อง” ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี - ดำเนินการตรวจสอบเพลงโดยผู้เชี่ยวชาญทางเพลงเรื่อง วงดนตรีไทยกรุงเทพมหานคร - ดำเนินการบันทึกโน้ตสากล เพลงเรื่องวิเวกเวหา ประกอบด้วย - เพลงช้า 5 เพลง ได้แก่ เพลงวิเวกเวหา เพลงการะเวก เพลงนกกระจอกทอง เพลงกระเรียนทอง เพลงสาริกาชมเดือน - เพลงสองไม้ - เพลงนางโหย 6 ท่อน - เพลงเร็ว - เพลงลา 4. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม 1. กิจกรรม 1.1 ร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมและร่วมงานตักบาตรพระร้อยทางเรือ วันที่ 4 ตุลาคม 2563 ณ วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง 1.2 ร่วมพิธีอุปสมบทหมู่ สวดมนต์อธิษฐานจิตและปฏิบัติธรรมน้อมอุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระชนกาธิเบต เมื่อวัน 12 ตุลาคม 2563 ณ วัดพระราม 9 เขตห้วยขวาง 1.3 ร่วมพิธีเปิดปฐมนิเทศโครงการอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดประยุรวงศาวาส เขตธนบุรี 1.4 ร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมเทศน์มหาชาติ เฉลิมพระเกียรติฯ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (เสด็จเตี่ย) เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันประสูติ 19 ธันวาคม 2563 เมื่อวันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 15.00 น. ณ วัดบางแวก เขตภาษีเจริญ 2. จัดทำแผ่นพับ 2.1 จัดทำแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ความรู้ประเพณีชักพระวัดนางชี ไปเผยแพร่และแจกให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดนางชี เขตภาษีเจริญ 2.2 จัดทำแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ความรู้ประเพณีแห่เรือชักพระหลวงพ่อสำริด ไปเผยแพร่และแจกให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดเวตวันธรรมาวาส เขตบางซื่อ 3. Facebook 3.1 เผยแพร่ข้อมูลตำนานท้าวอู่ทองของกรุงเทพมหานคร ผ่านทางเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 4. รายการวิทยุ 4.1 ว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กทม. ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ พระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล “ผ้าไหม ชุมชนบ้านครัว” 4.2 ว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กทม. ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล “ตำนานพระลอยนํ้า” 4.3 ว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กทม. ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูล ย้อนอดีตวัดวาอาราม อันงดงาม ตลาดน้ำ 2 คลองตลิ่งชัน ตลาดคลองลัดมะยม และตลาดวัดจำปา ทางสัญจรตั้งแต่สมัยอยุธยาที่คนกรุงเทพฯ ไม่ควรลืมเลือน 5. โครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ทำหนังสือเชิญวิทยากรและหนังสือตอบรับวิทยากรในการเสวนาทั้ง 3 สาขา ได้แก่ สาขาศิลปะการแสดง สาขาทัศนศิลป์ สาขาดนตรีและการขับร้องรวมทั้งหนังสือเชิญผู้เข้าร่วมงานและจัดทำหนังสือขอใช้สถานที่หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางประเพณี ประจำปี 2564 - อยู่ระหว่างดำเนินการจัดงานเทศกาลมหาสงกรานต์กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 โดยกำหนดจัดกิจกรรมระหว่างวันที่ 12 – 14 เมษายน 2564 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ประจำปี 2564 1. การจัดพิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจำปีพระพุทธศักราช 2564 - งดการจัดพิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจำปีพระพุทธศักราช 2564 เนื่องจากสถานะการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. งานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ประจำปี 2564 - กำหนดจัดพิธีทำบุญตักบาตรเนื่องในวันวิสาขบูชา ประจำปี 2564 ในวันพุธที่ 26 พฤษภาคม 2564 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้ การจัดกิจกรรมดังกล่าวจะดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของกระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด โดยกำหนดจัดพิธีทำบุญตักบาตรเนื่องในวันวิสาขบูชา ประจำปี พ.ศ. 2564 ในวันที่ 26 พฤษภาคม 2564 เวลา 07.00 น. ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม เผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมผ่านทางเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม - ห้ามเล่น "ลูกข่าง-ส้อนหา (ซ่อนหา)" ในสมัยรัชกาลที่ 5 - “แกงเนื้อพริกขี้หนู-ข้าวแช่” สูตรวังเทเวศร์ จากปากต้นเครื่องในวัง - ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จากอิทธิพลอินเดียถึงไทย ตอนที่ 1 - ความหมายของธรรมเนียมการสวมพระมหาพิชัยมงกุฎ - วันเด็กแห่งชาติ - วันครู - ประชาสัมพันธ์เชิญชวนร่วมประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมร่วมสมัยดีเด่น ดวงใจวิจารณ์ ปี 2564 - ประชาสัมพันธ์เชิญติดตามรับชม Live สด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อ่าน - คิด - วิจารณ์ ภายใต้โครงการสร้างเสริมเครือข่ายนักวิจารณ์วรรณกรรมรุ่นใหม่ : อ่าน - คิด - วิจารณ์ สร้างภูมิคุ้มกันแก่สังคมไทย โดย ชมัยภร แสงกระจ่าง สรณัฐ ไตลังคะ จรูญพร ปรปักษ์ประลัย - ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จากอิทธิพลอินเดียถึงไทย - ตำนานแม่โพสพ - สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ได้รับเกียรติบัตรจากคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ เพื่อแสดงว่าเป็น "องค์กรส่งเสริมคุณธรรม" ตามโครงการส่งเสริมส่งเสริมชุมชน องค์กร อำเภอ และจังหวัดคุณธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ภายใต้แม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2559-2564) - ชุมชนขันลงหินบ้านบุ - ช่างทองตรอกสุเหร่า มัสยิดจักรพงษ์ - การตีทองคำเปลวตรอกบวรรังษีและตรอกตึกดิน - ตำนานแม่นากพระโขนง - วิธีทอดปลาตะเพียนสูตรพระวิมาดาเธอฯ รายการวิทยุ ว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กทม. ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรม - ตำราแมวไทย ของสมเด็จพุฒาจารย์นวม เจ้าอาวาสวัดอนงคาราม (ตอนที่ 2) - ตำนานป้อมอันสวยงามในพระนคร - เล่าต่อเนื่องจากป้อมสู่ประตูเมืองในพระนครที่หายไปแล้ว และที่ยังหลงเหลืออยู่ในกรุงเทพฯ - ตำนานแม่นากพระโขนง ตำนานยักษ์วัดโพธิ์ ยักษ์วัดแจ้ง ตำนานจระเข้ดาวคะนอง และตำนานท้าวอู่ทอง - ประวัติสะพานชุดเฉลิมพระเกียรติทั้ง 17 สะพาน ตอนที่ 1 - ประวัติสะพานชุดเฉลิมพระเกียรติทั้ง 17 สะพาน ตอนที่ 2 - ประวัติสะพานชุดเฉลิมพระเกียรติทั้ง 17 สะพาน ตอนจบ - ประวัติสะพานที่ช้างใช้เดินเข้าออกมาสู่พระนครในสมัยรัตนโกสินทร์ (ร.1) - ประเพณีทำขวัญข้าวของคุณป้าประนอม ชาวนาในกรุงเทพฯ - จัดทำข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจัดส่งให้คุณศิริลัษณ์ มหัทธนะเตมีย์ ผู้ดำเนินรายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อนำข้อมูลมรดกภูมิปัญญาของกรุงเทพมหานครไปเผยแพร่ที่วิทยุ ปตอ. เอ เอ็ม.594 และมีการตอบคำถาม มอบหนังสือมรดกภูมิปัญญาของกรุงเทพมหานครเป็นรางวัล - ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจำชาติไทยค่ายพระยาตาก ของอาจารย์กฤษณ์ ฤทธิ์เดชา กิจกรรม 1. ดำเนินการจัดโครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 17 - 19 มีนาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม 441 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายในรูปแบบเสวนาวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร 3 สาขา ได้แก่ สาขาดนตรีและการขับร้อง สาขาศิลปะการแสดง และสาขาทัศนศิลป์ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กิจกรรมประกอบด้วย - วันที่ 17 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ และจัดแสดงนิทรรสการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - วันที่ 18 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะ Collage Art กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ และการจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - วันที่ 19 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง และจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านพหุวัฒนธรรมโดยการเผยแพร่หนังสือองค์ความรู้ด้านพหุวัฒนธรรมที่จัดทำขึ้นโดยส่วนวัฒนธรรม ได้แก่ หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หนังสือโลกเล่าขานตำนานนักประพันธ์ไทย หนังสือพัฒนาการอักษรไทย และหนังสือวิวัฒน์การอ่าน ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และประชาชนทั่วไป - นักวิชาการวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว เข้าร่วมกิจกรรมการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารมุสลิมในกรุงเทพมหานครเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่สากล เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 21 มีนาคม 2564 ณ บ้านพระยาราชานุประดิษฐ์ ชุมชนโรงคราม เขตธนบุรี จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทั้งนี้ นักวิชาการวัฒนธรรมได้นำเสนอความคิดเห็นในประเด็นแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารมุสลิม - นักวิชาการวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม ผู้รับผิดชอบพื้นที่กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ เข้าร่วมกิจกรรม Focus group เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่นสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยว โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่นสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยว เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 ณ ชุมชนกะดีจีน เขตธนบุรี (กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ) ทั้งนี้ นักวิชาการวัฒนธรรมได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม การอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมฯ และข้อมูลองค์ความรู้ แหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ที่สามารถนำมาบูรณาการร่วมกับการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่น กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งประกอบด้วย ข้าราชการกรุงเทพมหานคร และเครือข่ายภาคประชาชนในกลุ่มเขต กิจกรรมบันทึก "เพลง เรื่อง" ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ดำเนินการบันทึกเสียงและวีดีโอ เพลงที่ 1 เพลงเรื่องวิเวกเวหา เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2564 ที่ห้องซ้อมดนตรีไทย อาคารระบายนํ้า กทม.2 ควบคุมโดย สิบเอกไชยชนะ เต๊ะอ้วน หัวหน้ากลุ่มงานดุริยางค์ไทย - เพลงที่ 2 เพลงเรื่องเขมรใหญ่ โดยครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงดนตรีไทย โดยนำโน้ตพรรณนาเพลงเรื่อง มาบันทึก midi ลงโปรแกรมทำเพลง แปลงเป็นเสียงฆ้องวงใหญ่ ประกอบด้วย เพลงเขมรใหญ่ 5 ท่อน เพลงเขมรเขมรน้อย 3 ท่อน เพลงเขมรกลาง 2 ท่อน สองไม้เพลงครวญหา 3 ท่อน เพลงคู่ครวญหา 5 ท่อน เพลงเร็วค้างคาวกินกล้วย 6 ท่อน เพลงเร็วสาวคำ 3 ท่อน ลงเพลงลา - เพลงที่ 3 เพลงเรื่องเพลงช้าตะนาว โดยครูพินิจ ฉายสุวรรณ ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดงดนตรีไทย โดยนำโน้ตพรรณนาเพลงเรื่อง มาบันทึก midi ลงโปรแกรมทำเพลง cubase และ battery แปลงเป็นเสียงฆ้องวงใหญ่ ประกอบด้วย เพลงช้า 5 ท่อน เพลงสองไม้ 6 ท่อน เพลงเร็ว 3 ท่อน โครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ดำเนินการจัดโครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 17 - 19 มีนาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว โดยมีนายสมบูรณ์ หอมนาน เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายในรูปแบบเสวนาวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร 3 สาขา ได้แก่ สาขาดนตรีและการขับร้อง สาขาศิลปะการแสดง และสาขาทัศนศิลป์ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม วันละ 147 คน จำนวน 3 วัน รวมทั้งสิ้นจำนวน 441 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. วันที่ 17 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ และจัดแสดงนิทรรสการผลงานของสมาขิกเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ส่วนวัฒนธรรม ข้าราชการครูผู้สอนวิชานาฏศิลป์ โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครสำนักงานเขต 2. วันที่ 18 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะCollage Art กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ และการจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ส่วนวัฒนธรรม ข้าราชการครูผู้สอนวิชาศิลปะโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 3. วันที่ 19 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง และจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ส่วนวัฒนธรรม ข้าราชการครูผู้สอนวิชาดนตรี โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางประเพณี ประจำปี 2564 1.1 การจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี 2564 - ยกเลิกการจัดกิจกรรการจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี 2564 เนื่องจากสถานการณ์เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ตามการพิจารณาของที่ประชุมคณะกรรมการโรคติดต่อกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 19/2563 ) 1.2 การจัดงานเทศกาลมหาสงกรานต์กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 - ยกเลิกการจัดงานเทศกาลมหาสงกรานต์กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 ระหว่างวันที่ 12 - 14 เมษายน 2564 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุได้ตรวจรับการจ้างเหมาจัดงานเทศกาลมหาสงกรานต์กรุงเทพมหานคร ประจำปี 2564 ได้ปรับลดเนื้องานและวงเงินจ้างเหมา เนื่องจากได้มีการดำเนินงานไปแล้วบางส่วน โดยรวมใช้จ่ายงบประมาณ เป็นเงิน 2,123,975 บาท 2. โครงการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม เนื่องในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ประจำปี 2564 2.1 การจัดพิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจำปีพระพุทธศักราช 2564 - ยกเลิกการจัดพิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนา เนื่องในวันมาฆบูชา ประจำปีพระพุทธศักราช 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2.2 งานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ประจำปี 2564 - ยกเลิกการจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา เนื่องในเทศกาลวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลก ประจำปี 2564 เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) และโอนเงินงบประมาณเข้างบกลาง เป็นเงิน 1,632,400.- บาท 3. พิธีทำบุญตักบาตร งานเผยแผ่พระพุทธศาสนาเนื่องในวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา ประจำปี 2564 - อยู่ในระหว่างเสนอของดการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) 3. กิจกรรมบันทึก"เพลงเรื่อง" ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี - เพลงที่ 4 เพลงเรื่องเต่าทอง (จากโน้ตสากลในหนังสือพรรณนาเพลงเรื่อง มาแปลงเป็นเสียงฆ้องวงใหญ่) แล้วนำมามิคเสียงทำเป็นไฟล์ mp4 มีภาพโน้ตสากลเพลงช้าเรื่องเต่าทองประกอบเพลงเผยแพร่เพลงเรื่องเต่าทองลงยูทูป เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2564 4. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม 4.1 เผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมผ่านทางเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม - หัตถกรรมแทงหยวก - เทศกาลสงกรานต์ - เผยแพร่ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี ประจำปี 2563 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1. ตำนานจระเข้ดาวคะนอง เขตธนบุรี สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2 สำนักดนตรีไทยหลวงประดิษฐไพเราะ เขตพญาไท สาขาศิลปะการแสดง 3. ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4. ขนมตึงตัง เขตบางนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5. ผ้าไหมบ้านครัว เขตราชเทวี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว - พิธีวางเสาหลักเมือง - “บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ในขุนช้างขุนแผน - เจ้าเวหา จุฬา - ปักเป้า - วิถีชาววังสวนสุนันทา - พระราชพิธีฉัตรมงคล - ขนมอาลัว - ความหมายของ “ตัวมอม” สัตว์ในจินตนาการ สู่ตำนานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งล้านนา - วันพืชมงคล - E-book “เครือข่ายชุมชนวัฒนธรรม เพื่อสืบสานต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม - คลายข้อสงสัย คนกรุงศรีอยุธยา “หน้าตา” เป็นอย่างไร? - ทำไมคนสมัยก่อนต้องทาหน้าขาว - youtube หัวโขนครูสมชาย ล้วนวิลัย - youtube รายการภูมิปัญญาแห่งแผ่นดิน ครูกฤษณ์ ฤทธิ์เดชา - youtube หัวโขนครูวัฒนา แก้วดวงใหญ่ - youtube รายการลุยไม่รู้โรย สูงวัยดี๊ดี : ครูผู้สร้างประวัติศาสตร์ ให้มีชีวิต ครูกฤษณ์ ฤทธิ์เดชา - youtube หัวโขนพรพิราพ บางพลัด - ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 รายการ ขนมตึงตัง เขตบางนา - เล่าเรื่องร่วมสมัย “ศิลปกรรมสำคัญ ภายในวัดบวรนิเวศวิหาร” - วันวิสาขบูชา - วันอัฏฐมีบูชา - พิธีรำผีมอญของตระกูลมอญดะ - สรรพคุณของยาไทย - เชิงสะพานอุเทนถวาย - ประกาศผลการคัดเลือกผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประจำปี พ.ศ. 2564 4.2 รายการวิทยุ ว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ส่วนวัฒนธรรม สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว กทม. ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรม - บอกเล่าเรื่องราวประวัติวันสงกรานต์ - ประวัติว่าวไทย - ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี - ประวัติวังบูรพา - ดนตรีนาเสป 1. โครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงาน ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ 17 - 19 มีนาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร เรียบร้อยแล้ว โดยมีนายสมบูรณ์ หอมนาน เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายในรูปแบบเสวนาวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย 1. วันที่ 17 มีนาคม 2564 สาขาศิลปะการแสดง มีกิจกรรม ดังนี้ 1.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” 1.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ 1.3 การจัดแสดงนิทรรสการผลงานของสมาขิกเครือข่ายสาขาศิลปะการแสดง 2. วันที่ 18 มีนาคม 2564 สาขาทัศนศิลป์ มีกิจกรรม ดังนี้ 2.1 กิจกรรมเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” 2.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ 2.3 กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะCollage Art 2.4 กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ 2.5 การจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่ายสาขาทัศนศิลป์ 3. วันที่ 19 มีนาคม 2564 สาขาดนตรีและการขับร้อง มีกิจกรรม ดังนี้ 3.1 กิจกรรมจัดเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” 3.2 กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง 3.3 จัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม ดังนี้ เจ้าหน้าที่ส่วนวัฒนธรรม ข้าราชการครูผู้สอนวิชาดนตรี โรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร สำนักงานเขต จำนวนสาขาละ 147 คน จำนวน 3 วัน รวมทั้งสิ้นจำนวน 441 คน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. จัดกิจกรรมหรือเข้าร่วมการจัดกิจกรรม จำนวน 11 กิจกรรม 2. จัดทำแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ความรู้ 3. เผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมผ่านรายการวิทยุ 4. เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 5. เผยแพร่คลิปวิดีโอ เพลงเรื่อง เพื่อเผยแพร่ทางยูทูป จำนวน 6 เรื่อง 1. จัดกิจกรรมหรือเข้าร่วมการจัดกิจกรรม จำนวน 11 กิจกรรม ดังนี้ 1. ร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมและร่วมงานตักบาตรพระร้อยทางเรือ วันที่ 4 ตุลาคม 2563 ณ วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง 2. ร่วมพิธีอุปสมบทหมู่ สวดมนต์อธิษฐานจิต และปฏิบัติธรรม น้อมอุทิศถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระชนกาธิเบต เมื่อวัน 12 ตุลาคม 2563 ณ วัดพระราม 9 เขตห้วยขวาง 3. ร่วมพิธีเปิดปฐมนิเทศโครงการอบรมพระนักเทศน์ทุนเล่าเรียนหลวง รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดประยุรวงศาวาส เขตธนบุรี 4. ร่วมสนับสนุนการจัดกิจกรรมเทศน์มหาชาติ เฉลิมพระเกียรติฯ พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (เสด็จเตี่ย) เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันประสูติ 19 ธันวาคม 2563 เมื่อวันศุกร์ที่ 18 ธันวาคม 2563 เวลา 15.00 น. ณ วัดบางแวก เขตภาษีเจริญ 5. จัดโครงการเสริมสร้างพัฒนาเครือข่ายการดำเนินงานด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของ กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 17 - 19 มีนาคม 2564 ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม รวม 441 คน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเครือข่ายในรูปแบบเสวนาวิชาการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของกรุงเทพมหานคร 3 สาขา ได้แก่ สาขาดนตรีและการขับร้อง สาขาศิลปะการแสดง และสาขาทัศนศิลป์ เพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร กิจกรรมประกอบด้วย - วันที่ 17 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาศิลปะการแสดง หัวข้อ “ศิลปะการแสดงร่วมสมัยกับการพัฒนารูปแบบสร้างสรรค์ตามช่วงเวลา” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการ และจัดแสดงนิทรรสการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - วันที่ 18 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาทัศนศิลป์ หัวข้อ “ทัศนศิลป์ร่วมสมัยกับสังคมและวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้เชิงปฏิบัติการสาขาทัศนศิลป์ประกอบด้วย กิจกรรมภาพพิมพ์สีจากวัสดุธรรมชาติ กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะ Collage Art กิจกรรมสร้างสรรค์ศิลปะจากวัสดุเหลือใช้ และการจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - วันที่ 19 มีนาคม 2564 จัดเสวนาวิชาการสาขาดนตรีและการขับร้อง หัวข้อ “ดนตรีร่วมสมัยคืออะไร” กิจกรรมการสาธิตถ่ายทอดองค์ความรู้ สาขาดนตรีและการขับร้อง และจัดแสดงนิทรรศการผลงานของสมาชิกเครือข่าย - กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านพหุวัฒนธรรมโดยการเผยแพร่หนังสือองค์ความรู้ด้านพหุวัฒนธรรมที่จัดทำขึ้นโดยส่วนวัฒนธรรม ได้แก่ หนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานคร หนังสือโลกเล่าขานตำนานนักประพันธ์ไทย หนังสือพัฒนาการอักษรไทย และหนังสือวิวัฒน์การอ่าน ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม และประชาชนทั่วไป 6. สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ได้รับเกียรติบัตรจากคณะกรรมการส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ เพื่อแสดงว่าเป็น "องค์กรส่งเสริมคุณธรรม" ตามโครงการส่งเสริมส่งเสริมชุมชน องค์กร อำเภอ และจังหวัดคุณธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ภายใต้แม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๙-๒๕๖๔) 7. จัดกิจกรรมตอบคำถามข้อมูลมรดกภูมิปัญญาของกรุงเทพมหานคร ร่วมกับรายการเพื่อนพระจันทร์ เผยแพร่ทางวิทยุ ปตอ. เอ เอ็ม.594 โดยมอบหนังสือมรดกภูมิปัญญาของกรุงเทพมหานครเป็นรางวัล 8. ร่วมกิจกรรมการปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอาหารมุสลิมในกรุงเทพมหานครเพื่อยกระดับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมสู่สากล เมื่อวันอาทิตย์ ที่ 21 มีนาคม 2564 ณ บ้านพระยาราชานุประดิษฐ์ ชุมชนโรงคราม เขตธนบุรี จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ทั้งนี้ นักวิชาการวัฒนธรรมได้นำเสนอความคิดเห็นในประเด็นแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอาหารมุสลิม 9. ร่วมกิจกรรม Focus group เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่นสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยว โครงการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่นสู่การท่องเที่ยวที่ยั่งยืนในแหล่งท่องเที่ยว เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2564 ณ ชุมชนกะดีจีน เขตธนบุรี (กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ) ทั้งนี้ นักวิชาการวัฒนธรรมได้แลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ด้านพหุวัฒนธรรม การอนุรักษ์มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมฯ และข้อมูลองค์ความรู้ แหล่งเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย ที่สามารถนำมาบูรณาการร่วมกับการพัฒนาการท่องเที่ยววิถีถิ่น กับกลุ่มเป้าหมายซึ่งประกอบด้วย ข้าราชการกรุงเทพมหานคร และเครือข่ายภาคประชาชนในกลุ่มเขต 10. มอบหนังสือของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ให้กับโรงเรียนปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จำนวน 54 เล่ม เพื่อนำไปให้บริการนักเรียนสำหรับสืบค้นข้อมูลที่ห้องสมุดของโรงเรียน โดยมีนายนวพล เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา ครูโรงเรียนปากเกร็ด เป็นผู้รับมอบ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 11. เข้าร่วมประชุมคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนแผนแม่บทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ 2559 - 2564) ครั้งที่ 2/2564 ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ โปรแกรม Zoom Meeting วันพุธที่ 25 สิงหาคม 2564 2. จัดทำแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ความรู้ 2.1 ประเพณีชักพระวัดนางชี ไปเผยแพร่และแจกให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดนางชี เขตภาษีเจริญ 2.2 ประเพณีแห่เรือชักพระหลวงพ่อสำริด ไปเผยแพร่และแจกให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา เมื่อวันที่ 4 พฤศจิกายน 2563 ณ วัดเวตวันธรรมาวาส เขตบางซื่อ 3. เผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรมผ่านรายการวิทยุ โดยว่าที่ร้อยตรีประภพ เบญจกุล หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมงานวัฒนธรรม ให้สัมภาษณ์รายการเพื่อนพระจันทร์ เพื่อเผยแพร่ข้อมูลด้านพหุวัฒนธรรม ดังนี้ - เรื่อง “ผ้าไหม ชุมชนบ้านครัว” - เรื่อง “ตำนานพระลอยนํ้า” - เรื่อง ย้อนอดีตวัดวาอาราม อันงดงาม ตลาดน้ำ 2 คลองตลิ่งชัน ตลาดคลองลัดมะยม และตลาดวัดจำปา ทางสัญจรตั้งแต่สมัยอยุธยาที่คนกรุงเทพฯ ไม่ควรลืมเลือน - เรื่อง ตำราแมวไทย ของสมเด็จพุฒาจารย์นวม เจ้าอาวาสวัดอนงคาราม - เรื่อง ตำนานป้อมอันสวยงามในพระนคร - เรื่อง เล่าต่อเนื่องจากป้อมสู่ประตูเมืองในพระนครที่หายไปแล้ว และที่ยังหลงเหลืออยู่ในกรุงเทพฯ - เรื่อง ตำนานแม่นากพระโขนง ตำนานยักษ์วัดโพธิ์ ยักษ์วัดแจ้ง ตำนานจระเข้ดาวคะนอง และตำนานท้าวอู่ทอง - เรื่อง ประวัติสะพานชุดเฉลิมพระเกียรติทั้ง 17 สะพาน - เรื่อง ประวัติสะพานที่ช้างใช้เดินเข้าออกมาสู่พระนครในสมัยรัตนโกสินทร์ (ร.๑) - เรื่อง ประเพณีทำขวัญข้าวของคุณป้าประนอม ชาวนาในกรุงเทพฯ - เรื่อง ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวประจำชาติไทยค่ายพระยาตาก ของอาจารย์กฤษณ์ ฤทธิ์เดชา - เรื่อง บอกเล่าเรื่องราวประวัติวันสงกรานต์ - เรื่อง ประวัติว่าวไทย - เรื่อง ขลุ่ยบ้านลาว เขตธนบุรี - เรื่อง ประวัติวังบูรพา - เรื่อง ดนตรีนาเสป - เรื่อง ประวัติวังบางคอแหลมของสมเด็จพระบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้ายุคลฑิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ - เรื่อง อัตลักษณ์ของชาวคลองภูมิ เขตยานนาวา กรุงเทพฯ - เรื่อง อัตลักษณ์ของชาวคลองภูมิ เรื่องที่ ๒ กับประเพณีสงกรานต์อาจเปลี่ยนไปตามยุคสมัย แต่คนรุ่นหลังยังร่วมกันสืบทอดต่อไป - เรื่อง "ตำนานไทยประจำชาติ" เรื่องราวที่เล่าปากต่อปากจนเป็นตำนาน ที่ผสมผสานกับประเพณีวัฒนธรรมของคนพื้นถิ่นภาคต่างๆ ที่น่าสนใจ - เรื่อง "ตำนานไทยประจำชาติ" กับ 4 ตำนานมุขปาฐะ (เล่าปากต่อปาก) กบกินเดือน เจ้าแม่ลิ้มก่อเหนี่ยว เจ้าแม่สองนาง และเจ้าหลวงคำแดง 4 เผยแพร่ข้อมูลผ่านทางเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม - ตำนานท้าวอู่ทองของกรุงเทพมหานคร - ห้ามเล่น "ลูกข่าง-ส้อนหา (ซ่อนหา)" ในสมัยรัชกาลที่ 5 - “แกงเนื้อพริกขี้หนู-ข้าวแช่” สูตรวังเทเวศร์ จากปากต้นเครื่องในวัง - ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จากอิทธิพลอินเดียถึงไทย เรื่องที่ 1 - ความหมายของธรรมเนียมการสวมพระมหาพิชัยมงกุฎ - วันเด็กแห่งชาติ - วันครู - ประชาสัมพันธ์เชิญชวนร่วมประกวดบทวิจารณ์วรรณกรรมร่วมสมัยดีเด่น ดวงใจวิจารณ์ ปี 2564 - ประชาสัมพันธ์เชิญติดตามรับชม Live สด แลกเปลี่ยนเรียนรู้ อ่าน - คิด - วิจารณ์ ภายใต้โครงการสร้างเสริมเครือข่ายนักวิจารณ์วรรณกรรมรุ่นใหม่ : อ่าน - คิด - วิจารณ์ สร้างภูมิคุ้มกันแก่สังคมไทย โดย ชมัยภร แสงกระจ่าง สรณัฐ ไตลังคะ จรูญพร ปรปักษ์ประลัย - ความเป็นมาของพระราชพิธีบรมราชาภิเษกสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ จากอิทธิพลอินเดียถึงไทย - ตำนานแม่โพสพ - ชุมชนขันลงหินบ้านบุ - ช่างทองตรอกสุเหร่า มัสยิดจักรพงษ์ - การตีทองคำเปลวตรอกบวรรังษีและตรอกตึกดิน - ตำนานแม่นากพระโขนง - วิธีทอดปลาตะเพียนสูตรพระวิมาดาเธอฯ - หัตถกรรมแทงหยวก - เทศกาลสงกรานต์ - เผยแพร่ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นบัญชี ประจำปี 2563 จำนวน 6 รายการ ดังนี้ 1. ตำนานจระเข้ดาวคะนอง เขตธนบุรี สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2. สำนักดนตรีไทยหลวงประดิษฐไพเราะ เขตพญาไท สาขาศิลปะการแสดง 3. ประเพณีตักบาตรพระร้อยทางเรือ วัดสุทธาโภชน์ เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4. ขนมตึงตัง เขตบางนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5. ผ้าไหมบ้านครัว เขตราชเทวี สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6. ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ค่ายพระยาตาก เขตหนองแขม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว - พิธีวางเสาหลักเมือง - “บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ในขุนช้างขุนแผน - เจ้าเวหา จุฬา - ปักเป้า - วิถีชาววังสวนสุนันทา - พระราชพิธีฉัตรมงคล - ขนมอาลัว - ความหมายของ “ตัวมอม” สัตว์ในจินตนาการ สู่ตำนานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งล้านนา - วันพืชมงคล - E-book “เครือข่ายชุมชนวัฒนธรรม เพื่อสืบสานต่อยอดมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม” โดย กรมส่งเสริมวัฒนธรรม - คลายข้อสงสัย คนกรุงศรีอยุธยา “หน้าตา” เป็นอย่างไร? - ทำไมคนสมัยก่อนต้องทาหน้าขาว - youtube หัวโขนครูสมชาย ล้วนวิลัย - youtube รายการภูมิปัญญาแห่งแผ่นดิน ครูกฤษณ์ ฤทธิ์เดชา - youtube หัวโขนครูวัฒนา แก้วดวงใหญ่ - youtube รายการลุยไม่รู้โรย สูงวัยดี๊ดี : ครูผู้สร้างประวัติศาสตร์ ให้มีชีวิต ครูกฤษณ์ ฤทธิ์เดชา - youtube หัวโขนพรพิราพ บางพลัด - ประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง รายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 รายการ ขนมตึงตัง เขตบางนา - เล่าเรื่องร่วมสมัย “ศิลปกรรมสำคัญ ภายในวัดบวรนิเวศวิหาร” - วันวิสาขบูชา - วันอัฏฐมีบูชา - พิธีรำผีมอญของตระกูลมอญดะ - สรรพคุณของยาไทย - เชิงสะพานอุเทนถวาย - ประกาศผลการคัดเลือกผู้ทำคุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ประจำปี พ.ศ. 2564 - youtube การบรรเลงเพลงช้าเรื่องจีนแส (ทางบ้านพาทยโกศล) - youtube รายการเปิดตำนานกับเผ่าทอง เรื่อง ยาหอมตำรับบ้านหมอหวาน เขตพระนคร - ตำนานท้าวอู่ทองในกรุงเทพมหานคร - วันอาสาฬหบูชา หรือวันอาสาฬหปุณณมีบูชา - ประชาสัมพันธ์โครงการร้านอาหารปลอดเหล้าเข้าพรรษาประชาสัมพันธ์โครงการร้านอาหารปลอดเหล้าเข้าพรรษา - บทความร่วมรำลึก 140 ปี ชาตกาล หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) วันที่ 6 สิงหาคม 2564 - ประชาสัมพันธ์เชิญชวนร่วมงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 11 ภายใต้แนวคิด Sustainability with Moral : New Moral New Normal “คุณธรรมวิถีใหม่ สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน” ระหว่างวันที่ 26 - 27 สิงหาคม 2564 (รูปแบบออนไลน์ Virtual Event) 3. กิจกรรมบันทึก"เพลงเรื่อง" ตามพระราชดำริของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี นำโน้ตสากลในหนังสือพรรณนาเพลงเรื่อง มาแปลงเป็นเสียงฆ้องวงใหญ่ แล้วนำมามิคเสียงทำเป็นไฟล์ mp 4 โดยใช้ภาพโน้ตสากลเพลงนั้นประกอบ เผยแพร่ ทางยูทูป เพลงที่ 1 เพลงเรื่องวิเวกเวหา เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 27 เมษายน พ.ศ. 2564 - เพลงที่ 2 เพลงเรื่องเขมรใหญ่ เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 - เพลงที่ 3 เพลงเรื่องตะนาว เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2564 - เพลงที่ 4 เพลงเรื่องเต่าทอง เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2564 - เพลงที่ 5 เพลงเรื่องแว่นทอง เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม 2564 - เพลงที่ 6 เพลงเรื่องต้อยตลิ่ง เผยแพร่ทางยูทูป เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2564

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๖.๒ - เมืองแห่งนักท่องเที่ยวระดับโลก

(16) 11. จำนวนช่องทางในการประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว
[มิติที่ 1 : ]

๖.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่น่าท่องเที่ยวระดับโลก
11. จำนวนช่องทางในการประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว

หน่วยนับ :ช่องทาง/ปี

เป้าหมาย :0.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ช่องทาง/ปี)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

95 / 100
2
0.00

0 / 0
3
0.00

0 / 0
4
2.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

- ช่องทางในการประชาสัมพันธ์ที่สามารถเข้าถึงเพื่อสื่อสารให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบข้อมูลข่าวสารอันเป็นประโยชน์ต่าง ๆ ในการเตรียมตัวเดินทางหรือในขณะเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร ได้แก่ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลแบบเฉพาะหน้าโดยเจ้าหน้าที่ประจำจุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร การปิดประกาศ การแจกใบปลิว/คู่มือ/แผ่นพับ การประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ต่าง ๆ เป็นต้น - ส่งเสริมหรือสนับสนุนข้อมูลเพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างปลอดภัย อาทิ ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวต่าง ๆ ได้แก่ วันเวลาทำการและที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว เส้นทางการเข้าถึงที่สะดวกและปลอดภัย เป็นต้น และหมายรวมถึงข้อมูลที่นักท่องเที่ยวพึงทราบและระมัดระวังตัว เพื่อหลีกเลี่ยงจากความเสี่ยงอันอาจเกิดขึ้นจากการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร - นับจากจำนวนช่องทางที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยวที่มารับบริการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โครงการ/กิจกรรมสนับสนุนตัวชี้วัดนี้มีจำนวน 2 โครงการ/กิจกรรม 1. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 2. กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) ผลการดำเนินงานในไตรมาสที่ 1 (ตุลาคม 2563 – ธันวาคม 2563) 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรม 2. รวบรวมและจำแนกข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง ก่อนการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน 3. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจที่เหมาะสมกับสภาพการณ์ 4. อยู่ระหว่างคัดสรรจำแนกข้อมูลด้านความปลอดภัยที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในขณะนี้ว่า มีเรื่องอะไร จำนวนเท่าไร และได้รับการเผยแพร่สู่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปอย่างไรหรือผ่านช่องทางใดบ้างเพื่อประเมินความถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัยของข้อมูลชุดปัจจุบันว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ 5. อยู่ระหว่างจัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) และร่างแบบนิเทศการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานง่านช่วยเหลือนักท่องเที่ยว รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 แห่ง (บริการส่วนหน้า ณ ที่ทำการส่วนการท่องเที่ยว ถนนพระอาทิตย์ และซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง ตามแหล่งชุมนุมชน ต่าง ๆ)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 2563 – 31 มี.ค. 2564) ประกอบด้วย จำนวน 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น ผลการดำเนินการ 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 2. รวบรวมและจำแนกข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง ก่อนการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน 3. คัดสรรจำแนกข้อมูลด้านความปลอดภัยที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในขณะนี้ว่า มีเรื่องอะไร จำนวนเท่าไร และได้รับการเผยแพร่สู่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปอย่างไรหรือผ่านช่องทางใดบ้าง เพื่อประเมินความถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัยของข้อมูลชุดปัจจุบันว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ 4. จัดทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 5. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว อนุมัติกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้นแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างสรรหาและจัดทำข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติม กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรม 2. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจที่เหมาะสมกับสภาพการณ์ 3. จัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) และร่างแบบนิเทศการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานง่านช่วยเหลือนักท่องเที่ยว รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 แห่ง (บริการส่วนหน้า ณ ที่ทำการส่วนการท่องเที่ยว ถนนพระอาทิตย์ และซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง ตามแหล่งชุมนุมชนต่าง ๆ) 4. ทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นชอบจัดทำกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) 5. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ลงนามอนุมัติกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) แล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างจัดทำคู่มือ/เอกสารประกอบการนิเทศนักประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวฯ รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวฯ สำหรับการจัดเก็บข้อมูล ณ จุดบริการการท่องเที่ยวฯ จำนวน 23 แห่ง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 3 (1 ต.ค. 2563 – 30 มิ.ย. 2564) ประกอบด้วย จำนวน 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น ผลการดำเนินการ 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 2. รวบรวมและจำแนกข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง ก่อนการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน 3. คัดสรรจำแนกข้อมูลด้านความปลอดภัยที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในขณะนี้ว่า มีเรื่องอะไร จำนวนเท่าไร และได้รับการเผยแพร่สู่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปอย่างไรหรือผ่านช่องทางใดบ้าง เพื่อประเมินความถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัยของข้อมูลชุดปัจจุบันว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ 4. จัดทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 5. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว อนุมัติกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้นแล้ว 6. จัดทำข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติมและนำขึ้นเว็บไซต์ www.bangkoktourist.com ของ ส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ในหัวข้อเรื่องความปลอดภัย 7. จัดทำ/ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติม พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โดยนำขึ้นเว็บไซต์ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ภายใต้หัวข้อเรื่องความปลอดภัย (Coz We Care) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรม 2. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจที่เหมาะสมกับสภาพการณ์ 3. จัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) และร่างแบบนิเทศการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานง่านช่วยเหลือนักท่องเที่ยว รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 แห่ง (บริการส่วนหน้า ณ ที่ทำการส่วนการท่องเที่ยว ถนนพระอาทิตย์ และซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง ตามแหล่งชุมนุมชนต่าง ๆ) 4. ทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นชอบจัดทำกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) 5. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ลงนามอนุมัติกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) แล้ว จัดทำคู่มือ/เอกสารประกอบการนิเทศนักประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวฯ รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวฯ สำหรับการจัดเก็บข้อมูล ณ จุดบริการการท่องเที่ยวฯ จำนวน 23 แห่ง 6. จัดประชุมนิเทศภาพรวมการให้คำแนะนำแก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการเดินทางและความปลอดภัย รวมทั้งการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 9 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมอาคารส่วนการท่องเที่ยว 7. ดำเนินการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย ณ ซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 จุด แบบไม่ระบุจำนวนกลุ่มตัวอย่าง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4 (ต.ค.63 - ก.ย.64) สำนักวัฒนธรรม กีฬา และการทอ่เงที่ยว ได้ประชาสัมพันธ์เพื่อสื่อสารให้นักท่องเที่ยวได้รับทราบข้อมูลข่าวสารอันเป็นประโยชน์ต่าง ๆ ในการเตรียมตัวเดินทางหรือในขณะเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร และส่งเสริม/สนับสนุนข้อมูลเพื่อให้นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้อย่างปลอดภัย อาทิ ข้อมูลด้านการท่องเที่ยวต่าง ๆ ได้แก่ วันเวลาทำการและที่ตั้งของแหล่งท่องเที่ยว เส้นทางการเข้าถึงที่สะดวกและปลอดภัย เป็นต้น รวมถึงข้อมูลที่นักท่องเที่ยวพึงทราบและระมัดระวังตัว เพื่อหลีกเลี่ยงจากความเสี่ยงอันอาจเกิดขึ้นจากการเดินทางท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวต่าง ๆ ตลอดจนการให้ข้อมูลในการเข้าถึงองค์กรหรือหน่วยงานที่มีหน้าที่ให้การเยียวยาหรือช่วยเหลือนักท่องเที่ยวในกรณีประสบเหตุเดือดร้อนต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้นักท่องเที่ยวเกิดความรู้สึกอบอุ่นใจและเชื่อมั่นด้านความปลอดภัยเมื่อเดินทางท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ได้ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านความปลอดภัย ได้จำนวน ๒ ช่องทาง ช่องทางที่ ๑ การประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านจุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร (ซุ้ม) จำนวน 23 แห่ง โดยการรปิดประกาศ การแจกใบปลิว/คู่มือ/แผ่นพับ เป็นต้น ช่องทางที่ ๒ การประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ของสำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ภายใต้หัวข้อเรื่องความปลอดภัย (Coz We Care) โดยมีกิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัดจำนวนช่องทางในการประชาสัมพันธ์เรื่องความปลอดภัยให้กับนักท่องเที่ยว จำนวน ๒ กิจกรรม ได้แก่ ๑. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น ๒. กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) - กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น โดยได้ดำเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรม 2. รวบรวมและจำแนกข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้อง ก่อนการจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ที่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน 3. คัดสรรจำแนกข้อมูลด้านความปลอดภัยที่เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในขณะนี้ว่า มีเรื่องอะไร จำนวนเท่าไร และได้รับการเผยแพร่สู่นักท่องเที่ยวและประชาชนทั่วไปอย่างไรหรือผ่านช่องทางใดบ้าง เพือ่ประเมินความถูกต้อง ครบถ้วน และทันสมัยของข้อมูลชุดปัจจุบันว่าสามารถใช้การได้ตามปกติหรือไม่ 4. ทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นจัดทำกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้น 5. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ลงนามอนุมัติกิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยจากมิจฉาชีพและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวที่ตกเป็นเหยื่อหรือได้รับความเดือดร้อนในเบื้องต้นแล้ว เมื่อวันที่ 29 มกราคม 2564 ขณะนี้อยู่ระหว่างสรรหาและจัดทำข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติม 6. จัดทำข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติมและนำขึ้นเว็บไซต์ www.bangkoktourist.com ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว ในหัวข้อเรื่องความปลอดภัย 7. สรรหา/จัดทำ/ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติม พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โดยนำขึ้นเว็บไซต์ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ภายใต้หัวข้อเรื่องความปลอดภัย (Coz We Care) 8. ปรับปรุงเนื้อหาข้อมูลด้านความปลอดภัยที่จำเป็นเพิ่มเติมพร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โดยนำขึ้นเว็บไซต์ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ภายใต้หัวข้อเรื่องความปลอดภัย (Coz We Care) 9. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลด้านความปลอดภัย โดยนำขึ้นเว็บไซต์ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ภายใต้หัวเรื่อง ความปลอดภัย (Coz We Care) 10. ดำเนินการเผยแพร่ข้อมูลด้านความปลอดภัยสำหรับนักท่องเที่ยวผ่านช่องทางเว็บไซต์ของส่วนการท่องเที่ยว สำนักงานวัฒนธรรมและการท่องเที่ยว (www.bangkoktourist.com) ตลอดระยะเวลาช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ภายใต้หัวข้อเรื่อง ความปลอดภัย (Coz We Care) 11. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลผ่านจุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร (ซุ้ม) จำนวน ๒๓ แห่ง โดยการรปิดประกาศ การแจกใบปลิว/คู่มือ/แผ่นพับ เป็นต้น - กิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) มีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ ๑. ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกิจกรรม ๒. รวบรวมข้อมูลเบื้องต้นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง สำหรับการจัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจที่เหมาะสมกับสภาพการณ์ ๓. จัดทำร่างแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) และร่างแบบนิเทศการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานง่านช่วยเหลือนักท่องเที่ยว รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 แห่ง (บริการส่วนหน้า ณ ที่ทำการส่วนการท่องเที่ยว ถนนพระอาทิตย์ และซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 22 แห่ง ตามแหล่งชุมนุมชนต่าง ๆ) ๔. จัดทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว เพื่อขอความเห็นชอบจัดทำกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) ๕. ผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว ลงนามอนุมัติกิจกรรมสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร (ด้านการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย) ๖. จัดทำคู่มือ/เอกสารประกอบการนิเทศนักประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยและประสานงานช่วยเหลือนักท่องเที่ยวฯ รวมทั้งการใช้แบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวฯ สำหรับการจัดเก็บข้อมูล ณ จุดบริการการท่องเที่ยวฯ จำนวน ๒๓ แห่ง ๗. ประชุมนิเทศภาพรวมการให้คำแนะนำแก่นักท่องเที่ยวเกี่ยวกับการเดินทางและความปลอดภัย รวมทั้งการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ในวันที่ 9 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมอาคารส่วนการท่องเที่ยว ๘. ดำเนินการทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย ณ ซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด และบริการส่วนหน้า ณ ที่ทำการส่วนการท่องเที่ยว แบบไม่ระบุจำนวนกลุ่มตัวอย่าง ๙. รวบรวมผลการประมวลแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวต่อการให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัยของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร ณ จุดบริการข้อมูลด้านการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด (จุดบริการส่วนหน้า 1 แห่ง และซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยว กทม. 22 แห่ง) ๑๐. ประมวลผลที่ได้รับจากแบบสำรวจความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการให้บริการของซุ้มประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด - ประชากร ได้แก่ นักท่องเที่ยวที่มารับบริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด - ตัวอย่าง ได้แก่ นักท่องเที่ยวที่มารับบริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครและตอบแบบสอบถาม จำนวน 227 คน - เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผล เป็นแบบสำรวจความพึงพอใจและทำการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูล โดยวิธีการคำนวณทางคณิตศาสตร์ - การประเมินผลความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มารับบริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดเกณฑ์การให้คะแนนและเกณฑ์การวัดตัวแปรในแต่ละตัว ดังนี้ เกณฑ์กำหนดคะแนน เกณฑ์การเปรียบเทียบการวัดค่าเฉลี่ย คือ - มากที่สุด 5 คะแนน - มาก 4 คะแนน - ปานกลาง 3 คะแนน - น้อย 2 คะแนน - น้อยที่สุด 1 คะแนน แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ - ระดับค่าเฉลี่ย 4.21-5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมากที่สุด - ระดับค่าเฉลี่ย 3.41-4.20 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับมาก - ระดับค่าเฉลี่ย 2.61-3.40 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง - ระดับค่าเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อย - ระดับค่าเฉลี่ย 1.00-1.80 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับน้อยที่สุด ความคิดเห็นเกี่ยวกับจุดบริการ นักท่องเที่ยวที่มาติดต่อใช้บริการ ณ จุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด มีความเห็นต่อจุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานครในประเด็นต่าง ๆ เรียงลำดับได้ดังนี้ 1. ความสะดวกของจุดบริการ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 80.36) เห็นว่า ดีเยี่ยม 2. ความสะอาดของจุดบริการ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 79.30) เห็นว่า ดีเยี่ยม 3. ความปลอดภัยของจุดบริการ ส่วนใหญ่ (ร้อยละ 72.12) เห็นว่า ดีเยี่ยม ความพึงพอใจด้านการให้บริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร นักท่องเที่ยวมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการการท่องเที่ยวของกรุงเทพมหานคร จำนวน 23 จุด ในแง่มุมหรือคุณลัุกษณะต่าง ๆ เรียงลำดับเป็นดังนี้ 1. ในแง่มุมของการสื่อสารที่ได้รับชัดเจน ถูกต้อง และแสดงถึงไมตรีจิตต่อกัน นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.77 หรือคิดเป็นร้อยละ 77.09 2. ในแง่มุมของการทักทายและการแสดงการต้อนรับที่ได้รับ นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.77 หรือคิดเป็นร้อยละ 76.65 3. ในแง่มุมของข้อมูลที่มีให้บริการสามารถนำไปใช้ได้และมีประโยชน์ นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.73 หรือคิดเป็นร้อยละ 73.57 4. ในแง่มุมของความสะดวกรวดเร็วในการช่วยบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนที่ได้รับ นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.71 หรือคิดเป็นร้อยละ 71.37 5. ในแง่มุมของข้อมูลที่มีให้บริการถูกต้องตรงตามความต้องการ นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.70 หรือคิดเป็นร้อยละ 70.49 6. ในแง่มุมของข้อมูลที่มีให้บริการเพียงพอและครบถ้วนตามความต้องการ นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.67 หรือคิดเป็นร้อยละ 68.72 7. ในแง่มุมของข้อมูลที่มีให้บริการเพียงพอเหมาะสมสำหรับนักท่องเที่ยวทุกกลุ่ม นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.65 หรือคิดเป็นร้อยละ 65.64 8. ในแง่มุมของการแนะนำสื่อประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลด้านความปลอดภัย นักท่องเที่ยวที่ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของจุดบริการ ในภาพรวมโดยเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยความพึงพอใจเท่ากับ 4.61 หรือคิดเป็นร้อยละ 62.56

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(17) ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวดำเนินการสำเร็จตามที่เป้าหมายกำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมที่เป็นงานประจำของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยวดำเนินการสำเร็จตามที่เป้าหมายกำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :50.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
6.67

85 / 100
2
10.00

0 / 0
3
16.67

0 / 0
4
50.00

0 / 0

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่วางไว้แล้ว จำนวน 2 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 6.67) ได้แก่ 1. โครงการจัดกิจกรรมเทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 2. กิจกรรมสานความร่วมมือทางด้านดนตรี “Tchaikovsky V Concert” 2. อยู่ระหว่างดำเนินการจำนวน 28 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 33.33)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่วางไว้แล้ว จำนวน 3 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 10.0) ได้แก่ 1. โครงการจัดกิจกรรมเทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 2. กิจกรรมสานความร่วมมือทางด้านดนตรี “Tchaikovsky V Concert” 3. กิจกรรมดนตรีในสวนลอยฟ้าเจ้าพระยา 2. อยู่ระหว่างดำเนินการจำนวน 25 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 83.33) 3. ชะลอโครงการ 1 โครงการ (คิดเป็นร้อยละ 3.33) 4. ยกเลิกโครงการ 1 โครงการ คือ โครงการจัดงานวันเด็กแห่งชาติเขตพระราชฐานในพระองค์ ประจำปี 2564 (คิดเป็นร้อยละ 3.33)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่วางไว้แล้ว จำนวน 5 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 16.67) ได้แก่ 1. โครงการจัดกิจกรรมเทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 2. กิจกรรมสานความร่วมมือทางด้านดนตรี “Tchaikovsky V Concert” 3. กิจกรรมดนตรีในสวนลอยฟ้าเจ้าพระยา 4. โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะผู้นำนันทนาการ 5. กิจกรรมการรวบรวมฐานข้อมูลวงดนตรีของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 2. อยู่ระหว่างดำเนินการจำนวน 22 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 73.33) 3. ชะลอโครงการ 1 โครงการ (คิดเป็นร้อยละ 3.33) คือ โครงการจัดกิจกรรมการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 4. ยกเลิกโครงการ 2 โครงการ (คิดเป็นร้อยละ 6.67) คือ 1. โครงการจัดงานวันเด็กแห่งชาติเขตพระราชฐานในพระองค์ ประจำปี 2564 2. โครงการจัดทำและบริหารจัดการข้อมูลเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนที่วางไว้แล้ว จำนวน 15 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 50.0) ได้แก่ 1. กิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดนตรีไทยผ่านสื่อออนไลน์ 2. กิจกรรมการเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านดนตรีสากลผ่านสื่อออนไลน์ 3. กิจกรรมการรวบรวมฐานข้อมูลวงดนตรีของโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร 4. โครงการส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนกรุงเทพมหานคร 5. โครงการส่งเสริมเยาวชนดีเด่นกรุงเทพมหานคร (ประกายเพชร) ครั้งที่ 16 ประจำปี 2564 6. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้อินเตอร์เน็ตผ่านโครงข่ายเคเบิลใยแก้วนำแสง (Optical Fiber Cable) ของศูนย์เยาวชนและศูนย์กีฬา 7. กิจกรรมเผยแพร่บทเพลงคลาสสิกและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีเชมเบอร์ผ่านสื่อออนไลน์ 8. กิจกรรมการแสดงดนตรีเพลงคลาสสิกและเพลงไทยผ่านสื่อออนไลน์ 9. โครงการจัดกิจกรรมเทศกาลลอยกระทงกรุงเทพมหานคร 10. โครงการจัดทำและบริหารจัดการข้อมูลเว็บไซต์การท่องเที่ยวกรุงเทพมหานคร 11. โครงการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวผ่านสื่อต่าง ๆ 12. กิจกรรมดนตรีในสวนลอยฟ้าเจ้าพระยา 13. กิจกรรมสานความร่วมมือทางด้านดนตรี “Tchaikovsky V Concert” 14. โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะผู้นำนันทนาการ 15. กิจกรรมอนุรักษ์ ฟื้นฟู และเผยแพร่ศิลปะการดนตรีเพื่อประชาชนกรุงเทพมหานคร 2. อยู่ระหว่างดำเนินการจำนวน 12 โครงการ/กิจกรรม (คิดเป็นร้อยละ 40.0) 3. ยกเลิกโครงการ 3 โครงการ (คิดเป็นร้อยละ 10.0)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด