รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

4.(4)ร้อยละความสำเร็จของการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ : 1700-0878

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 90

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
35.00
100
100 / 100
2
55.00
90
90 / 100
3
65.00
95
95 / 100
4
90.00
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ผลการดำเนินโครงการ เดือน ตุลาคม 2563 1.) กำหนดจุดเสี่ยง 102 จุด ใน 4 โซน 27 เขต -ดำเนินการแล้ว 33 จุด(สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 33 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร)) 2.) อยู่ระหว่างดำเนินการ 35 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 17 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 8 จุด -สนย. ร่วมกับ สจส. 10 จุด 3.) เสนอของบประมาณดำเนินการ 28 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 17 จุด- สำนักการโยธา (สนย.) 2 จุด -สนย. ร่วมกับ สจส. 9 จุด -ประสานหน่วยงานอื่น 6 จุด -กรมทางหลวง 5 จุด -สำนักงานเขต 1 จุด 3.ผลการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน 2563 -กำหนดจุดเสี่ยง 154 จุด ใน 4 โซน 37 เขต -ดำเนินการแล้ว 37 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) 4.)อยู่ระหว่างดำเนินการ 110 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 70 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 15 จุด -สนย. ร่วมกับ สจส. 19 จุด -สำนักงานเขต 4 จุด -หน่วยงานอื่น 2 จุด 5.) เสนอของบประมาณดำเนินการ 7 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 1 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 6 จุด ผลการดำเนินโครงการ เดือน พฤศจิกายน 2563 1.)กำหนดจุดเสี่ยง 154 จุด ใน 4 โซน 37 เขต -ดำเนินการแล้ว 37 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) 2.)อยู่ระหว่างดำเนินการ 110 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 70 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 15 จุด -สนย. ร่วมกับ สจส. 19 จุด -สำนักงานเขต 4 จุด -หน่วยงานอื่น 2 จุด 3.)เสนอของบประมาณดำเนินการ 7 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 1 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 6 จุด ผลการดำเนินโครงการ เดือน ธันวาคม 2563 1.)กำหนดจุดเสี่ยง 160 จุด ใน 6 โซน 43 เขต -ดำเนินการแล้ว 37 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) 2.)อยู่ระหว่างดำเนินการ 101 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 34 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 21 จุด -สนย. ร่วมกับ สจส. 40 จุด -สำนักงานเขต 2 จุด -หน่วยงานอื่น 4 จุด 3.)เสนอของบประมาณดำเนินการ 7 จุด -สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 20 จุด -สำนักการโยธา (สนย.) 2 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เดือน มกราคม 2563 กำหนดจุดเสี่ยง 175 จุด ใน 6 โซน 50 เขต ดำเนินการแล้ว 47 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) อยู่ระหว่างดำเนินการ 106 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 32 จุด สำนักการโยธา (สนย.) 19 จุด สนย. ร่วมกับ สจส. 40 จุด สำนักงานเขต 2 จุด หน่วยงานอื่น 13 จุด เสนอของบประมาณดำเนินการ 22 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 20 จุด สำนักการโยธา (สนย.) 2 จุด เดือนกุมภาพันธ์ กำหนดจุดเสี่ยง 175 จุด ใน 6 โซน 50 เขต ดำเนินการแล้ว 71 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) อยู่ระหว่างดำเนินการ 62 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 29 จุด สำนักการโยธา (สนย.) 15 จุด สนย. ร่วมกับ สจส. 14 จุด สำนักงานเขต 16 จุด หน่วยงานอื่น 7 จุด เสนอของบประมาณดำเนินการ 19 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 19 จุด เดือนมีนาคม กำหนดจุดเสี่ยง 175 จุด ใน 6 โซน 50 เขต ดำเนินการแล้ว 71 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส.) 37 จุด (สำนักงานวิศวกรรมจราจร) อยู่ระหว่างดำเนินการ 62 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 29 จุด สำนักการโยธา (สนย.) 15 จุด สนย. ร่วมกับ สจส. 14 จุด สำนักงานเขต 16 จุด หน่วยงานอื่น 7 จุด เสนอของบประมาณดำเนินการ 19 จุด สำนักการจราจรและขนส่ง (สจส) 19 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จุดเสี่ยงทั้งหมด 102 จุด จุดเสี่ยงในความรับผิดชอบของ สวจ. จำนวน 51 จุด ดำเนินการแล้ว 28 จุด อยู่ระหว่างดำเนินการ 23 จุด จุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขเดือน มิ.ย. 64 จำนวน 2 จุด อยู่ในเขตราชเทวี 1 จุดและเขตตลิ่งชัน 1 จุด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จุดเสี่ยงทั้งหมด 102 จุด จุดเสี่ยงในความรับผิดชอบของ สจส. จำนวน 102 จุด ดำเนินการแล้ว 87 จุด อยู่ระหว่างดำเนินการ 14 จุด และมี 3 จุดที่ของบประมาณปี 2565 ดำเนินการแต่ไม่ได้รับงบประมาณดำเนินการ ได้แก่ 1. เขตลาดพร้าว ถนนโชคชัย 4 หมู่บ้าน ต.รวมโชค ขอสัญญาณไฟคนข้าม 2. เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย ถนนหลานหลวงตัดกับ ถนนพะเนียง ขอติดตั้งสัญญาณไฟจราจรคนข้าม 3. เขตบางกอกใหญ่ ตั้งแผงเหล็กยืดเพื่อ เปิด-ปิด การจราจรบริเวณเกาะกลางถนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

1. จุดเสี่ยงอุบัติเหตุ หมายถึง จุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone จากศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน ระดับเขต (ศปถ.เขต.) ซึ่งเป็นโครงการที่ดำเนินการตั้งแต่ปีงบประมาณ 2563 ที่อยู่ในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ในการดำเนินการแก้ไขด้านกายภาพตามอำนาจหน้าที่ แต่ยังไม่แล้วเสร็จ ในปัจจุบันได้มีการดำเนินการแก้ไขแล้ว 33 จุด จากจุดเสี่ยงทั้งหมด 102 จุด คงเหลือจุดเสี่ยงยังไม่ได้ดำเนินการทั้งหมด 69 จุด โดยแบ่งเป็น - จุดเสี่ยงที่ยังไม่ได้ดำเนินการและอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักจราจรและขนส่ง 53 จุด - จุดเสี่ยงที่ยังไม่ได้ดำเนินการและอยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยงานอื่น 16 จุด (ข้อมูล ณ วันที่ 5 มิ.ย. 2563) 2. การแก้ไข/ปรับปรุง หมายถึง การแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการดังกล่าว ซึ่งเป็นไปตามอำนาจหน้าที่และขอบข่ายภารกิจของสำนักการจราจรและขนส่ง ได้แก่ - การจัดทำแผนงานและปฏิบัติการด้านความปลอดภัยบนท้องถนน - การสำรวจ ออกแบบ ประมาณการ เพื่อติดตั้ง รื้อย้ายถอดถอน และบำรุงรักษาเครื่องหมายจราจร อุปกรณ์วิศวกรรมจราจร และอุปกรณ์ความปลอดภัย 3. จุดเกิดอุบัติเหตุ หมายถึง จุดเกิดอุบัติเหตุที่วัดระยะทางรัศมีวงกลมจากพิกัดจุดเสี่ยงที่แก้ไขไม่เกินระยะทาง ๕๐ เมตร 4. ร้อยละความสำเร็จ หมายถึง ร้อยละความสำเร็จที่สามารถดำเนินการตามองค์ประกอบที่ 1 องค์ประกอบที่ 2 และองค์ประกอบที่ 3 ของตัวชี้วัดนี้

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

วิธีคำนวณ : คะแนนเต็มทั้งหมด ร้อยละ 100 โดยแบ่งเกณฑ์น้ำหนักของคะแนนเป็น 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 มีการจัดทำแผนดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone คะแนนเต็มร้อยละ 20 รายละเอียดประกอบไปด้วยอย่างน้อย - จำนวนจุดเสี่ยงตามโครงการ Zero Accident Zone ทั้งหมด - แผนที่สารสนเทศแสดงถึงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ อาทิ ผังบริเวณ/ผังสังเขปใช้กำหนดจุดในแผนที่ google - จำนวนอุบัติเหตุของแต่ละจุดเสี่ยง - จำนวนพื้นที่เป้าหมายที่จะแก้ไขในแต่ละปี - มาตรการที่ใช้ในการแก้ไขจุดเสี่ยง - รายงานสรุปสถานการณ์การเกิด/ไม่เกิดอุบัติเหตุของจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการดังกล่าว และผลการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยง ที่ยังไม่แล้วเสร็จ ของปีงบประมาณ 2563 และจุดเสี่ยงอุบัติเหตุของโครงการดังกล่าวในปีงบประมาณ 2564 (กรณีมีจุดเสี่ยงอุบัติเหตุจุดใหม่) ให้ศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนน (ศปถ.กทม.) ทราบ องค์ประกอบที่ 2 จุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ที่ได้รับการปรับปรุง/แก้ไข ตามมาตรการเพื่อลดโอกาสเกิดอุบัติเหตุด้านกายภาพ โดยมีคะแนนเต็มร้อยละ 40 โดยมีสูตรคำนวณดังนี้ A = C/N x 100 x น้ำหนักคะแนนร้อยละ 40 A คือ ร้อยละจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ ตามโครงการ Zero Accident Zone ในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ที่ได้รับการปรับปรุง/แก้ไข C คือ จำนวนจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ที่ได้รับการปรับปรุง/แก้ไข N คือ จำนวนจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ทั้งหมดที่ยังไม่แล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 การคำนวณจำนวนจุดเสี่ยงในความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่ง ทั้งหมด ใช้ข้อมูลจำนวนจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ณ วันที่ 5 มิ.ย. 63 ในกรณีที่สำนักการจราจรและขนส่งไม่ได้รับงบประมาณดำเนินการ หรือมีเหตุผลอันจำเป็น ต้องมีหลักฐานประกอบอย่างชัดเจน ให้ปรับลดจำนวน N ลง ในส่วนจุดเสี่ยงที่สำนักการจราจรและขนส่งรับผิดชอบร่วมกับหน่วยงานอื่น หากการปรับปรุง/แก้ไขจุดเสี่ยงไม่แล้วเสร็จ แต่งานในภาระหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักการจราจรและขนส่งแล้วเสร็จ หรือสำนักการจราจรและขนส่งสามารถอธิบายได้ว่าไม่สามารถดำเนินการได้เนื่องจากปัญหาที่อยู่เหนือการควบคุมของสำนักการจราจรและขนส่งให้ถือว่าได้ดำเนินการแล้วเสร็จเรียบร้อยแล้ว องค์ประกอบที่ 3 ร้อยละผลรวมอุบัติเหตุเฉลี่ยของจุดเสี่ยงที่ได้รับการแก้ไขในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ทั้งหมดที่ลดลงเหลือ 0 ให้คะแนนเต็มร้อยละ 100 เป็นน้ำหนักคะแนนร้อยละ 40 โดยมีสูตรคำนวณดังนี้ B = [(C-D/C)x 100] x น้ำหนักคะแนนร้อยละ 40 B คือ ร้อยละของผลต่างจำนวนอุบัติเหตุเฉลี่ยในพื้นที่จุดเสี่ยงระหว่างปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 และปีงบประมาณ พ.ศ 2564 C คือ ผลรวมจำนวนอุบัติเหตุในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ในพื้นที่จุดเสี่ยงก่อนได้รับการแก้ไขของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 D คือ ผลรวมจำนวนอุบัติเหตุในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในพื้นที่จุดเสี่ยงหลังได้รับการแก้ไขแล้วทั้งหมดปีงบประมาณ พ.ศ. 2563

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. แผนการดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ที่อย่างน้อยแสดงเนื้อหาตามองค์ประกอบที่ 1 2. หลักฐานที่แสดงให้เห็นถึงการนำแผนสู่การปฏิบัติเพื่อดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone 3. รายงานความคืบหน้าหรือผลการดำเนินการแก้ไขในแต่ละจุดเสี่ยงฯ ตามแผนการดำเนินการข้อ 1 ในที่ประชุม ศปถ. และในระบบบริหารจัดการแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 4. รายงานสรุปผลการดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุตามโครงการ Zero Accident Zone ที่อย่างน้อยต้องแสดงให้เห็นถึงจุดเสี่ยงทั้งหมด ข้อมูลสถิติการเกิดอุบัติเหตุของจุดเสี่ยงก่อนและหลังการปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง ฯ วิธีดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยง ฯ และผลการดำเนินการแก้ไขแต่ละจุดเสี่ยง ฯ เพื่อเสนอ ศปถ. และผู้บริหารกรุงเทพมหานคร

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ
:๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร%
:๑.๓.๑.๑ ปรับปรุงสภาพถนนและจุดเสี่ยงอันตราย

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง