รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น : 5046-0943

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 147.19

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 95

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00
100
100 / 100
2
50.00
95
95 / 100
3
147.00
95
95 / 100
4
147.19
95
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนตุลาคม 2563-เดือนธันวาคม 2563 -นำข้อมูลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ซอยไทยรามัญ 1 พื้นที่ 34 ไร่ 85.53 ตารางวา (2) สนามกีฬากลางแจ้งโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 4 ไร่ 3 งาน 56.44 ตารางวา (3) พื้นที่ว่างข้างหมู่บ้านมายโฮม ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 12 ไร่ 54.45 ตารางวา (4) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านเดอะริคโค่เรสซิเด้น ถนนไทยรามัญ พื้นที่ 24 ไร่ 2 งาน 99.57 ตารางวา (5) ที่ว่างซอยหทัยราษฎร์ 46 พื้นที่ 32 ไร่ 2 งาน 28.83 ตารางวา (6) ที่ว่างซอยหทัยราษฎร์ 42/1 พื้นที่ 17 ไร่ 2 งาน 55.43 ตารางวา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนมกราคม 2564-เดือนมีนาคม 2564 2. นำข้อมูลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของกรุงเทพมหานครที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามซอยวัดสุขใจ 20 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 59 ไร่ 72 ตารางวา (2) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามสวนเกษตรสุขใจ 1 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 22 ไร่ 1 งาน 60.55 ตารางวา (3) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวตรงข้ามศูนย์วิปัสสนา วิริยธรรมโม ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 51 ไร่ 1 งาน 3.81 ตารางวา (4) สนามกีฬากลางแจ้งโรงเรียนสตรีวิทยา 2 ถนนนิมิตใหม่ เขตคลองสามวา พื้นที่ 4 ไร่ 1 งาน 99.37 ตารางวา (5) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าว ตรงข้ามวัดสุขใจ 18 ถนนวัดสุขใจ พื้นที่ 46 ไร่ 2 งาน 67 ตารางวา (6) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวซอยนิมิตใหม่ 50 ถนนนิมิตใหม่ พื้นที่ 62 ไร่ 1 งาน 53.19 ตารางวา 3. นำข้อมูลสวนหย่อม/สวนสาธารณะ(สวน 7 ประเภท) ที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (1)สวนหย่อมโรงเรียนบางชัน(ปลื้มวิทยานุสรณ์) พื้นที่ 1 งาน 54 ตารางวา (2)สวนหย่อมหมู่บ้านทัสคาน่า ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 1 ไร่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. ดำเนินการจัดทำรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวประจำเดือนเมษายน 2564-เดือนมิถุนายน 2564 2. เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของ กทม.(สวน9ประเภท)ลงในระบบโปรแกรมฯเป็นปัจจุบัน ดังนี้ (2.1)พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านวงศกร 5 ถ.หนองระแหง พื้นที่ 27 ไร่ 64.82 ตารางวา (2.2) พื้นที่เกษตรกรรมนาข้าวข้างหมู่บ้านเซ็นโทร ถ.หนองระแหง พื้นที่ 99 ไร่ 86.83 ตารางวา (2.3) สนามฟุตบอลธนเพชร ถ.คู่ขานกาญจนาภิเษก พื้นที่ ไร่ 3 งาน 20.10 ตารางวา 3. เพิ่มพื้นที่สีเขียว(สวน 7 ประเภท) ที่เพิ่มขึ้นลงในระบบโปรแกรมพื้นที่สีเขียวฯ ให้เป็นปัจจุบัน ดังนี้ (3.1)สวนหย่อมหมู่บ้านเซ็นโทร ถนนวงแหวนจตุโชติ พื้นที่ 2 ไร่ 1 งาน (3.2)สวนหย่อมหมู่บ้านราชพฤกษ์ ถนนหนองระแหง พื้นที่ 5 ไร่ 1 งาน (3.3) สวนหย่อมหมู่บ้านพลีโน่ ถนนวงแหวน-รามอินทรา พื้นที่ 3 ไร่ 1 งาน (3.4)สวนหย่อมหมู่บ้านวงศกร 5 ถนนหนองระแหง พื้นที่ 3 ไร่ (3.5)สวนหย่อมหมู่บ้านเพอเฟคเพลส(1) ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 3 ไร่ (3.6)สวนหย่อมหมู่บ้านเพอเฟคเพลส(2) ถนนพระยาสุเรนทร์ พื้นที่ 1 ไร่

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียวตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563-เดือนกันยายน 2564 ดังนี้ 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม จำนวน 8 แห่ง พื้นที่ 19 ไร่ 54 ตารางวา 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ จำนวน 18 แห่ง พื้นที่ 623 ไร่ 1 งาน 26.05 ตารางวา 3. คิดเป็นร้อยละ 147.19 ของเป้าหมายที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่สีเขียวตามที่กำหนดไว้ใน"ฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร" ประกอบด้วย 10 ประเภท แยกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ 1.พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อมให้สำนักงานเขตดำเนินการตามเป้าหมายที่ตกลงกับสำนักงานสวนสาธารณะ สำนักสิ่งแวดล้อมในแต่ละปี 2.พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ ซึ่งต้องดำเนินการสำรวจ รวบรวมเพิ่มเติมไม่น้อยกว่า 12 แห่ง/ปี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

1.กำหนดให้พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม และพื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ คิดคะแนนประเภทละ 100 % รวม 200 % 2.เฉลี่ยผลลัพธ์ตามข้อ 1 ให้เหลือ ร้อยละ 100 3.นำผลที่ได้จากข้อ 2 พิจารณาในส่วนความสมบูรณ์ของข้อมูลใน 3 ส่วนคือ 1.)รายละเอียดพื้นที่สีเขียวแต่ละแห่ง 2)ที่ตั้ง 3.)ภาพถ่าย ทั้งนี้ หักข้อละ 1 % ของคะแนนที่ได้รับ 4.หลังจากตัดคะแนนในส่วนความสมบูรณ์จะเป็นคะแนนที่ได้ของแต่ละสำนักงานเขต

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

พิจารณาผลสัมฤทธิ์การดำเนินการจาก "โปรแกรมฐานข้อมูลและระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร" เท่านั้น

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๒ - มหานครสีเขียว สะดวกสบาย : Bangkok as a Green and Convenient City
:๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่
:๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ%
:๒.๒.๑.๑ พัฒนาพื้นที่สีเขียวสำหรับพักผ่อนหย่อนใจและสร้างความร่มรื่นเพิ่มขึ้นกระจาย ทั่วในพื้นที่

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง