ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 100
ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 100
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
1. สำรวจพื้นที่เสี่ยง/จัดทำบัญชีพื้นที่เสี่ยงในพื้นที่เขต จำนวน 6 จุด 2. จัดทำโครงการ/ขออนุมัติโครงการ/จัดทำคำสั่งมอบหมายหน้าที่ปฏิบัติงานตามโครงการฯ 3. ติดตั้งตู้เขียว/ทำสมุดลงลายมือชื่อเจ้าหน้าที่ผู้ตรวจประจำจุดตู้เขียว 4. จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจจุดตู้เขียวที่กำหนดวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 5. ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 60 ชุด ประชาชนมีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 90.23 6. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ 7. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาและเจ้าหน้าที่เทศกิจร่วมกันตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจัดเสี่ยงฯ ทุกวัน 8. เจ้าหน้าที่เทศกิจและเจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาร่วมกันตรวจสอบการทำงานของกล้อง cctv ทุกวัน 9. เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานตามโครงการกลับบ้านปลอดภัย ไปกับเทศกิจบริเวณจุดเสี่ยงทุกวัน 10. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจกวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถบนทางเท้าบริเวณจุดเสี่ยงฯวันละ 3 ครั้ง 11. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงฯ (ตู้เขียว) วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 2. ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 60 ชุด ประชาชนมีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 90.43 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาและเจ้าหน้าที่เทศกิจร่วมกันตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจัดเสี่ยงฯ ทุกวัน 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจและเจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาร่วมกันตรวจสอบการทำงานของกล้อง cctv ทุกวัน 6. เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานตามโครงการกลับบ้านปลอดภัย ไปกับเทศกิจบริเวณจุดเสี่ยงทุกวัน 7. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจกวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถบนทางเท้าบริเวณจุดเสี่ยงฯวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 8. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงฯ (ตู้เขียว) วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 2. ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 60 ชุด ประชาชนมีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 90.63 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการตัดแต่งต้นไม้ เพื่อปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาและเจ้าหน้าที่เทศกิจร่วมกันตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจัดเสี่ยงฯ ทุกวัน 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจและเจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาร่วมกันตรวจสอบการทำงานของกล้อง cctv ทุกวัน 6. เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานตามโครงการกลับบ้านปลอดภัย ไปกับเทศกิจบริเวณจุดเสี่ยงทุกวัน 7. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจกวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถบนทางเท้าบริเวณจุดเสี่ยงฯวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 8. ฝ่ายเทศกิจจัดทำหนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลในพื้นที่เขตร่วมดำเนินการตามโครงการ 9. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
1. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดเสี่ยงฯ (ตู้เขียว) วันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 2. ทอดแบบสำรวจความพึงพอใจของประชาชน จำนวน 60 ชุด ประชาชนมีความพึงพอใจคิดเป็นร้อยละ 91.43 3. เจ้าหน้าที่ฝ่ายรักษาความสะอาดฯ ดำเนินการตัดแต่งต้นไม้ เพื่อปรับสภาพแวดล้อมบริเวณจุดเสี่ยงฯ 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาและเจ้าหน้าที่เทศกิจร่วมกันตรวจสอบไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจัดเสี่ยงฯ ทุกวัน 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจและเจ้าหน้าที่ฝ่ายโยธาร่วมกันตรวจสอบการทำงานของกล้อง cctv ทุกวัน 6. เจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานตามโครงการกลับบ้านปลอดภัย ไปกับเทศกิจบริเวณจุดเสี่ยงทุกวัน 7. จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจกวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถบนทางเท้าบริเวณจุดเสี่ยงฯวันละ 3 ครั้ง ต่อจุด 8. ฝ่ายเทศกิจจัดทำหนังสือประสานสถานีตำรวจนครบาลในพื้นที่เขตร่วมดำเนินการตามโครงการ 9. รายงานผลการดำเนินงานตามโครงการให้ผู้อำนวยการเขต และสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
1. จุดเสี่ยงภัย หมายถึง : จุดที่กรุงเทพมหานครสำรวจว่าเป็นจุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ร่วมกับจุดที่กองบัญชาการตำรวจนครบาลสำรวจ) จุดเสี่ยงต่อความปลอดภัยทางถนน 2. การแก้ไขจุดเสี่ยงภัย หมายถึง : การปรับ การแก้ไขหรือการเพิ่มเติมสภาพแวดล้อม เช่น การดูแลตั้ดแต่งต้นไม้ การติดตั้งไฟฟ้าส่งสว่าง การติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง ครบทุกรายการตามสภาพพื้นที่ 3. การเฝ้าระวังและตรวจตรา หมายถึง : สำนักเทศกิจแลัสำนักงานเขต มีการดำเนินการเพื่อส่งเสริมความปลอดภัยจากอาชญากรรม ความปลอดภัยทางถนน ในพื้นที่เขตมีนบุรี ดังนี้ 3.1 จุดเสี่ยงภัยได้รับการตรวจตรา และตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (cctv) 3.2 จุดเสี่ยงภัยได้รับการปรับสภาพแวดล้อม ด้วยการตัดแต่งต้นไม้ที่รกทึบ ติดตั้งไฟฟ้าส่องสว่าง ติดป้ายประชาสัมพันธ์ป้องกันอาชญากรรม ทำความสะอาดป้ายรถประจำทาง 3.3 ดำเนินการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาชญากรรม และความปลอดภัยทางถนนและบนทางเท้า เช่น กลับบ้านปลอดภัย ไปกับเทศกิจ การจัดกิจกรรมเทศกิจอาสาพาน้องข้ามถนน (School Care) กวดขันไม่ให้มีการจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์บนทางเท้า
ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจัดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัย X 100 หาร ความสำเร็จของการดำเนินการแก้ไขจุดเสี่ยงภัยร่วมกับการเฝ้าระวังและตรวจตราจุดเสี่ยงภัยตามแผน
มีการรายงานผลการดำเนินการให้ผู้ผู้อำนวยการเขต และผู้อำนวยการสำนักเทศกิจทราบทุกเดือน
:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City |
:๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด |
:๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน% |
:๑.๒.๑.๑ เสริมสร้างความปลอดภัยเพื่อลดความล่อแหลมของสภาพแวดล้อมต่อการก่อ อาชญากรรม |