ค่าเป้าหมาย ช่องทาง : 5
ผลงานที่ทำได้ ช่องทาง : 5
ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))
รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล
*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3:
ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ความเข้าด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครอย่างหลากหลายช่องทาง ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับ หนังสือ 2. เผยแพร่คลิปด้านดนตรีเผยแพร่ออนไลน์ 1. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม(ซ้ำ) (ไม่ใช้งบประมาณ) 1. ร่วมจัดงานประเพณีชักพระวัดนางชี เมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 ณ วัดนางชี จำนวนผู้ร่วมงานประมาณ 1,500 คน โดยจัดทำแผ่นพับเพื่อเผยแพร่ความรู้ประเพณีชักพระวัดนางชี นำนิทรรศการประเพณีชักพระวัดนางชี และหนังสือมรดกภูมิปัญญากรุงเทพมหานคร ไปเผยแพร่และแจกให้แก่ประชาชน นักเรียน นักศึกษา ในงานประเพณีชักพระวัดนางชี 2. จัดส่งข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ที่ได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ในปี พ.ศ. 2560 - 2562 ให้สำนักงานเขตเจ้าของมรดกภูมิปัญญา สำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษา สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย กองการกีฬา และศูนย์เยาวชนในสังกัดสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมด้านการกีฬา ได้แก่ มวยไทย ตระกร้อลอดห่วง กระโดดเชือก 3. เผยแพร่ประกาศรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการคัดเลือกเป็นรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2560 - 2562 ในเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม https://www.facebook.com/pg/culturebma/photos/?tab=album&album_id=2428931753900266 2. กิจกรรมสำรวจ และจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลตามแบบจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ตามสาขาของศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยของสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว จากสำนักงานเขต 50 เขต และจัดทำรายงานเสนอผู้อำนวยการสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว รับทราบความคืบหน้า 3. โครงการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช งบประมาณ 2,000,000.-บาท (ดำเนินการ) อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือไปยังกรมราชเลขานุการในพระองค์ เพื่อขอพระบรมราชานุญาตใช้และเผยแพร่บทเพลงพระราชนิพนธ์และขอพระราชทานถ้วยรางวัล 4. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดนตรีผ่านสื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) - ดำเนินการเผยแพร่บทสัมภาษณ์ ผ่านช่องทางเว็บไซต์กองการสังคีต และเฟสบุคศูนย์ฝึกดนตรี กองการสังคีต 1. หัวข้อความรู้ทางดนตรี "การเป่าเฟรนช์ฮอร์นเบื้องต้น" วิทยากร อาจารย์กฤษณ์ วิกรวงษ์วนิช คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2. หัวข้อ การอำนวยเพลงเบื้องต้น วิทยากร ดร.นิพัต กาญจนะหุต อาจารย์ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ในวันที่ 15 ธันวาคม 2562 5. กิจกรรมเผยแพร่ สืบสาน เพลงไทยสายกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) อยู่ระหว่างทำการคัดเลือกเพลงประเภทเพลง เถา โดยทำการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ดังนี้ เพลงที่ 1. เขมรชมดงเถาทางฆ้องวงใหญ่ เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 62 6. กิจกรรมเผยแพร่บทเพลงคลาสสิคและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีแชมเบอร์ผ่าน สื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) อยู่ระหว่างรวบรวมและคัดเลือกบทคลาสสิคและเพลงไทย การฝึกซ้อมบทเพลงเพื่อใช้ในการบันทึกวิดีโอและเผยแพร่
-ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ความเข้าด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครอย่างหลากหลายช่องทาง ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับ หนังสือ 2. เผยแพร่คลิปด้านดนตรีเผยแพร่ผ่านยุทุป 3.จัดแสดงนิทรรศการ 4.เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรม ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 1. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม** (ซ้ำ) (ไม่ใช้งบประมาณ) 1. จัดแสดงชุดนิทรรศการเคลื่อนที่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2562 จำนวน 6 ชุด ดังนี้ 1. ตำนานยักษ์วัดโพธิ์ ยักษ์วัดแจ้ง ท่าเตียน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2. วงปี่พาทย์พาทยโกศล สาขาศิลปะการแสดง 3. การทำขวัญข้าว เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4. การกวนกระยาสารท เขตทวีวัฒนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5. สมุดข่อย เขตบางซื่อ สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6. มวยไทย สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะต่อสู้ป้องกันตัว ในการจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 62 – 1 ม.ค. 63 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2. ดำเนินการมอบหนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครให้แก่ - ผู้อำนวยการสำนัก และผู้อำนวยการเขต หน่วยงาน/ส่วนราชการละ 1 เล่ม - ห้องสมุดกรุงเทพมหานคร 36 แห่งๆ ละ 1 เล่ม และหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 เล่ม เพื่อใช้ประโยชน์ในทางราชการและเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 3. เผยแพร่ข้อมูลความรู้บางกอกบอกเล่าเรื่อง (วัด) ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม โดยได้ทำการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัดเป็นตอนๆ ทุกวันธรรมสวนะ ตอนที่ 1 "วัด" หมายถึงอะไรกันนะ, ตอนที่ 2 นิยามพระอารามหลวง, ตอนที่ 3 เรื่อง พระอารามหลวง (ต่อ) และตอนที่ 4 เรื่องวัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2. กิจกรรมสำรวจ และจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) อยู่ระหว่างนำข้อมูลการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากสำนักงานเขต จำนวน 21 แห่ง จำนวนรวม 35 เรื่อง มาวิเคราะห์ และจัดทำสรุปข้อมูลการสำรวจและจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เพื่อการเผยแพร่และประยุกต์ใช้ข้อมูลต่อไป 3. โครงการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช งบประมาณ 2,000,000.-บาท (ดำเนินการ) - อยู่ระหว่างจัดทำหนังสือไปยังกรมราชเลขานุการในพระองค์ เพื่อขอพระบรมราชานุญาตใช้และเผยแพร่บทเพลงพระราชนิพนธ์และขอพระราชทานถ้วยรางวัล 4. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดนตรีผ่านสื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) - ดำเนินการเผยแพร่บทสัมภาษณ์ ผ่านช่องทางเว็บไซต์กองการสังคีต และเฟสบุคศูนย์ฝึกดนตรี กองการสังคีต 1. หัวข้อ "ดนตรีแจ๊สและการเข้ามาของวงบิ๊กแบนด์ในประเทศไทย (คลิปที่ 3) วิทยากร อาจารย์สันทัด ตัณฑนันทน์ เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์เมื่อวันที่ 28 ม.ค. 63 2. หัวข้อ "การสอนดนตรีเด็กเบื้องต้น" (คลิปที่ 4) วิทยากร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐศรัณย์ ทฤษฎิคุณ เผยแพร่ทางสื่อออนไลน์เมื่อวันที่ 17 ก.พ. 63 3. หัวข้อ "การเป่าคลาริเน็ทเบื้องต้น" (คลิปที่ 5) วิทยากร ดร.ณัฐพล เบญจธรรมนนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นัดบันทึกคลิปการสัมภาษณ์ในวันที่ 10 มีนาคม 2563 5. กิจกรรมเผยแพร่ สืบสาน เพลงไทยสายกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) อยู่ระหว่างทำการคัดเลือกเพลงประเภทเพลง เถา โดยทำการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ ดังนี้ เพลงที่ 1. เขมรชมดงเถาทางฆ้องวงใหญ่ เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 62 6. กิจกรรมเผยแพร่บทเพลงคลาสสิคและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีแชมเบอร์ผ่าน สื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) ดำเนินการบันทึกเสียงและบันทึกวิดีโอเป็นที่เรียบร้อยสำหรับวง Woodwind Quintet ตามรายการเพลง ดังนี้ 1.เพลง มาลัย ประพันธ์โดย : ดร.วานิช โปรตะวณิช เรียบเรียงเสียงประสานโดย : ดร.คมสันต์ ดิลคคุณานันท์ 2. เพลง Quodlibet for Woodwind Quintet ประพันธ์โดย : Arne Running 3. เพลง ตุ้กตาขวัญใจเจ้าทุย ประพันธ์โดย : คุณหญิง พวงร้อย อภัยวงศ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย : วิจิตร จิตรรังสรรค์ 4. เพลง Antiche Danze ungheres : INTRADA ประพันธ์โดย : Ferkas Ference สำหรับวง String Quartet, String Quintet และ Brass Quintet อยู่ในขั้นตอนการคัดเลือกบทเพลงและฝึกซ้อม
-ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ความเข้าด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครอย่างหลากหลายช่องทาง ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับ หนังสือ 2. เผยแพร่คลิปด้านดนตรีเผยแพร่ผ่านยุทุป 3.จัดแสดงนิทรรศการ 4.เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรม ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 1. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม** (ซ้ำ) (ไม่ใช้งบประมาณ) 1. จัดแสดงชุดนิทรรศการเคลื่อนที่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2562 จำนวน 6 ชุด ดังนี้ 1. ตำนานยักษ์วัดโพธิ์ ยักษ์วัดแจ้ง ท่าเตียน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 2. วงปี่พาทย์พาทยโกศล สาขาศิลปะการแสดง 3. การทำขวัญข้าว เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 4. การกวนกระยาสารท เขตทวีวัฒนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 5. สมุดข่อย เขตบางซื่อ สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 6. มวยไทย สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะต่อสู้ป้องกันตัว ในการจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 62 – 1 ม.ค. 63 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2. ดำเนินการมอบหนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครให้แก่ - ผู้อำนวยการสำนัก และผู้อำนวยการเขต หน่วยงาน/ส่วนราชการละ 1 เล่ม - ห้องสมุดกรุงเทพมหานคร 36 แห่งๆ ละ 1 เล่ม และหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 เล่ม เพื่อใช้ประโยชน์ในทางราชการและเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 3. เผยแพร่ข้อมูลความรู้บางกอกบอกเล่าเรื่อง (วัด) ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม โดยได้ทำการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัดเป็นตอนๆ ทุกวันธรรมสวนะ ตอนที่ 1 "วัด" หมายถึงอะไรกันนะ, ตอนที่ 2 นิยามพระอารามหลวง, ตอนที่ 3 เรื่อง พระอารามหลวง (ต่อ) และตอนที่ 4 เรื่องวัดพระศรีรัตนศาสดาราม 2. กิจกรรมสำรวจ และจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) 1. อยู่ระหว่างดำเนินการจัดทำฐานข้อมูลศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย 9 สาขา โดยวิธีการสืบค้น ศึกษา และจัดทำข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย จำนวน 9 สาขา ดังนี้ 1. สาขาวรรณศิลป์ 2. สาขาดนตรีและการขับร้อง 3. สาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย 4. สาขาทัศนศิลป์ 5. สาขาสถาปัตยกรรม 6. สาขาเรขศิลป์ 7. สาขามัณฑนศิลป์ 8. สาขาศิลปะการแสดง 9. สาขาภาพยนตร์ ประกอบด้วยข้อมูลด้านนิยาม ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ และองค์ประกอบอื่นๆที่เกี่ยวข้องตามแต่ละสาขา และเผื่อแพร่ประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ของส่วนวัฒนธรรมต่อไป 2. จัดทำข้อมูลเครือข่ายศิลปะร่วมสมัย ประกอบด้วย บุคคล กลุ่มบุคคล หน่วยงาน ชมรมต่างๆที่ดำเนินการด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่ เพื่อนำไปเผยแพร่ในเว็บไซต์ของส่วนวัฒนธรรมต่อไป 3. โครงการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช * เนื่องจากการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรน่าไวรัส (โควิด-19) ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้/อยู่ระหว่างเสนอปลัดกรุงเทพมหานครขอยกเลิกการจัดกิจกรรมและโอนงบประมาณเข้างบกลาง 4. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดนตรีผ่านสื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) - ดำเนินการเผยแพร่บทสัมภาษณ์ ผ่านช่องทางเว็บไซต์กองการสังคีต และเฟสบุคศูนย์ฝึกดนตรี กองการสังคีต คลิปที่ 5 หัวข้อ "การเป่าคลาริเน็ทเบื้องต้น วิทยากร ดร.ณัฐพล เบญจธรรมนนท์ อาจารย์ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 มี.ค. 2563 คลิปที่ 6 หัวข้อ "การเล่นกีตาร์คลาสสิกเบื้องต้น วิทยากร อจ.สรัญ อึงปัญญา วิทยากรผู้มีความเชี่ยวชาญด้านการเล่นกีตาร์คลาสสิก เผยแพร่เมื่อวันที่ 25 เม.ย. 2563 คลิปที่ 7 หัวข้อ การเล่นเปียโนเบื้องต้น วิทยากร อจ. ไวศิษย์ ศศิบุตร นักเปียโนและวิทยากรด้านการสอนเปียโน เผยแพร่เมื่อวันที่ 13 พ.ค. 2563 คลิปที่ 8 หัวข้อ "การฝึกกลองชุดเบื้องต้น" วิทยากร อจ. เอกพงศ์ เชิดธรรม เผยแพร่เมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 2563 5. กิจกรรมเผยแพร่ สืบสาน เพลงไทยสายกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) ทำการคัดเลือกเพลงประเภทเพลง เถา โดยทำการเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์ (ยูทูป) ดังนี้ เพลงที่ 1 เขมรชมดงเถาทางฆ้องวงใหญ่ เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 62 เพลงที่ 2 เป็นเพลงโหมโรงจุฬามณี เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2563 เพลงที่ 3 เพลงพิรุณสร่างฟ้า เผยแพร่เมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2563 เพลงที่ 4 เพลงพัฒนาเวียดนาม เผยแพร่เมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 เพลงที่ 5 เพลงนํ้าลอดใต้ทราย เผยแพร่เมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2563 เพลงที่ 6 โหมโรงสามสถาบัน เผยแพร่เมื่อวันที่ 16 มี.ค. 63 เพลงที่ 7 เพลงตามกวางเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 17 มี.ค. 63 เพลงที่ 8 เพลงเกสรสำอางเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 มี.ค. 63 เพลงที่ 9 เพลงเงี้ยวรำลึกเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2563 เพลงที่10 เพลงพันธ์ฝรั่งเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 มิ.ย 2563 6. กิจกรรมเผยแพร่บทเพลงคลาสสิคและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีแชมเบอร์ผ่าน สื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) ดำเนินการเผยแพร่บทเพลงสำหรับวง Woodwind Quintet ผ่านทางช่องทาง YOUTUBE และ Facebook กลุ่มงานดุริยางค์ซิมโฟนี กรุงเทพมหานคร จำนวน 3 บทเพลง ดังนี้ 1. เพลง มาลัย ประพันธ์โดย : ดร.วานิช โปรตะวนิช เรียบเรียงเสียงประสานโดย : ดร.คมสันต์ ดิลคคุณานันท์ 2. เพลง Quodlibet for Woodwind Quintet ประพันธ์โดย : Arne Running 3. เพลง ตุ้กตาขวัญใจเจ้าทุย ประพันธ์โดย : คุณหญิง พวงร้อย อภัยวงศ์ เรียบเรียงเสียงประสานโดย : วิจิตร จิตรรังสรรค์
-ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ความเข้าด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานครอย่างหลากหลายช่องทาง ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับ หนังสือ 2. เผยแพร่คลิปด้านดนตรีเผยแพร่ผ่านยุทูป 3. จัดแสดงนิทรรศการ 4. เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรม ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 5. เผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านวัฒนธรรม ผ่านหนังสือเวียนกรุงเทพมหานคร 1. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้ด้านวัฒนธรรม **(ซ้ำ) 1. แสดงชุดนิทรรศการเคลื่อนที่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ที่ได้รับการขึ้นบัญชีเป็นมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2562 จำนวน 6 ชุด ดังนี้ 1.1 ตำนานยักษ์วัดโพธิ์ ยักษ์วัดแจ้ง ท่าเตียน สาขาวรรณกรรมพื้นบ้านและภาษา 1.2 วงปี่พาทย์พาทยโกศล สาขาศิลปะการแสดง 1.3 การทำขวัญข้าว เขตลาดกระบัง สาขาแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล 1.4 การกวนกระยาสารท เขตทวีวัฒนา สาขาความรู้และการปฏิบัติเกี่ยวกับธรรมชาติและจักรวาล 1.5 สมุดข่อย เขตบางซื่อ สาขางานช่างฝีมือดั้งเดิม 1.6 มวยไทย สาขาการเล่นพื้นบ้าน กีฬาพื้นบ้าน และศิลปะต่อสู้ป้องกันตัว ทั้งนี้ ได้ดำเนินการจัดแสดงชุดนิทรรศการดังกล่าวในการจัดงานประเพณีวันขึ้นปีใหม่ และกิจกรรมสวดมนต์ข้ามปี ประจำปี พ.ศ. 2563 เมื่อวันที่ 31 ธ.ค. 62 – 1 ม.ค. 63 ณ ลานคนเมือง ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร 2. ดำเนินการมอบหนังสือมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครให้แก่ - ผู้อำนวยการสำนัก และผู้อำนวยการเขต หน่วยงาน/ส่วนราชการละ 1 เล่ม - ห้องสมุดกรุงเทพมหานคร 36 แห่งๆ ละ 1 เล่ม และหอสมุดเมืองกรุงเทพมหานคร จำนวน 5 เล่ม เพื่อใช้ประโยชน์ในทางราชการและเผยแพร่มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 3. เผยแพร่ข้อมูลความรู้บางกอกบอกเล่าเรื่อง (วัด) ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม โดยได้ทำการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับวัดเป็นตอนๆ ทุกวันธรรมสวนะ ตอนที่ 1 "วัด" หมายถึงอะไรกันนะ, ตอนที่ 2 นิยามพระอารามหลวง, ตอนที่ 3 เรื่อง พระอารามหลวง (ต่อ) ตอนที่ 4 เรื่องวัดพระศรีรัตนศาสดาราม 4. เผยแพร่ข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ดังนี้ - เรื่อง ตำนานแม่นากพระโขนง สู่ภาพยนตร์ - เรื่อง ศิลปะไม้ดัดและเขามอของไทย (ไม้ตำรา) - เรื่อง การละเล่นโถกเถก - เรื่อง ข้าวแช่ อาหารในเทศกาลสงกรานต์ - เรื่อง นางโคราคะเทวี (ตำนานนางสงกรานต์) - เรื่อง การละเล่นมอญซ่อนผ้า - เรื่อง ประวัติการเล่นหมากรุกในประเทศไทย - เรื่อง ประเพณีวันอัฏฐมีบูชา - เรื่อง ตำนานว่าวไทยและการแข่งขัน - เรื่อง เกร็ดความรู้ “การเสี่ยงทาย วันพืชมงคล” - เรื่อง ทองคำเปลว ย่านมัสยิด บ้านตึกดิน - เรื่อง การเล่นสกา - เรื่อง คุณหมอมากาเร็ตลินเซเวียร์ แพทย์หญิงคนแรกของเมืองไทย - เรื่อง หมากฮอส - เรื่อง สะบ้า 5. เผยแพร่ข้อมูลความรู้เรื่อง วัด และ วัง 6. เผยแพร่บทประพันธ์ของอาจารย์ชมัยภร บางคมบาง ศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ ประจำปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นเครือข่ายศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย 7. จัดทำเอกสารให้ความรู้ ซึ่งเป็นสรุปสาระสำคัญโดยย่อจากแบบจัดเก็บข้อมูลมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม (มภ.2) ของรายการมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ประจำปี พ.ศ. 2562 เพื่อเผยแพร่ให้แก่เครือข่ายผู้ปฏิบัติงานด้านวัฒนธรรมของกรุงเทพมหานคร และขอความอนุเคราะห์จัดทำแบบทดสอบการเรียนรู้เพื่อประเมินผลการรับรู้ข้อมูลทางหนังสือเวียนกรุงเทพมหานคร หนังสือ สวท ที่ กท 1207/2587 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2563 เรื่อง การเผยแพร่ความรู้มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมกรุงเทพมหานครที่ได้รับการขึ้นทะเบียน ประจำปี พ.ศ. 2562 เวียนตามหนังสือขอความอนุเคราะห์เวียนแจ้งหนังสือผ่านทางเว็บไซต์ ที่ กท 1207/1588 ลงวันที่ 25 มิถุนายน 2563 2. กิจกรรมสำรวจ และจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร การดำเนินโครงการเปาไปตามเป้าหมายเรียบร้อยแล้ว ดังนี้ - รวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานครจากสำนักงานเขต 50 เขต และจัดทำเป็นฐานข้อมูล จำนวน 42 แหล่ง ได้แก่ 1. สาขาทัศนศิลป์ จำนวน 14 แหล่ง 2. สาขาดนตรีและการขับร้อง จำนวน 7 แหล่ง 3. สาขาการออกแบบเครื่องแต่งกาย จำนวน 4 แหล่ง 4. สาขาวรรณศิลป์ จำนวน 3 แหล่ง 5. สาขาสถาปัตยกรรม จำนวน 5 แหล่ง 6. สาขามัณฑนศิลป์ จำนวน 1 แหล่ง 7. สาขาเรขศิลป์ จำนวน 3 แหล่ง 8. สาขาศิลปะการแสดง จำนวน 2 แหล่ง 9. สาขาภาพยนตร์ จำนวน 3 แหล่ง - นำฐานข้อมูลองค์ความรู้ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยที่ได้จากการสำรวจทั้ง ๙ สาขา จัดทำในรูปแบบรูปเล่มรายงาน โดยวิธีการสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและจัดทำข้อมูลด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในรูปแบบเอกสาร เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลของสำนักวัฒนธรรมกีฬา และการท่องเที่ยวต่อไป - ดำเนินการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยในพื้นที่กรุงเทพมหานครจากสำนักงานเขต 50 เขต ผ่านเฟซบุคส่วนวัฒนธรรม 3. โครงการประกวดขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาท สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช * ยกเลิกการจัดกิจกรรมและโอนงบประมาณเข้างบกลาง เนื่องจาก สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ดังนี้ 4. กิจกรรมเผยแพร่ข้อมูลความรู้ทางดนตรีผ่านสื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) - ดำเนินการรวบรวมข้อมูลความรู้ทางด้านดนตรีสากล จากเอกสาร ตำราทางวิชาการ บทสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีสากล การแสดงดนตรี บทวิเคราะห์วิจารณ์ทางดนตรี แหล่งความรู้ต่างๆ เผยแพร่สู่สาธารณะ ผ่านช่องทางเว็บไซต์กองการสังคีต และเฟสบุคศูนย์ฝึกดนตรี กองการสังคีต จำนวน 10 คลิปวีดีโอ ดังนี้ 1. หัวข้อ "การเป่าเฟรนช์ฮอร์นเบื้องต้น" วิทยากร อาจารย์กฤษณ์ วิกรวงษ์วนิช 2. หัวข้อ “การอำนวยเพลงเบื้องต้น” วิทยากร ดร.นิพัต กาญจนะหุต เผยแพร่เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2562 3. หัวข้อ “ดนตรีแจ๊สและการเข้ามาของวงบิ๊กแบนด์ในประเทศไทย” วิทยากร อาจารย์สันทัด ตัณฑนันทน์ เผยแพร่เมื่อวันที่ 28 ม.ค. 63 4. หัวข้อ "การสอนดนตรีเด็กเบื้องต้น" วิทยากร ผ.ศ. ดร.ณัฐศรัณย์ ทฤษฎิคุณ เผยแพร่เมื่อวันที่ 17 ก.พ. 63 5. หัวข้อ "การเป่าคลาริเน็ทเบื้องต้น" วิทยากร ดร.ณัฐพล เบญจธรรมนนท์ เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 มี.ค. 63 6. หัวข้อ "การเล่นกีตาร์คลาสสิกเบื้องต้น วิทยากร อาจารย์สรัญ อึงปัญญา เผยแพร่เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2563 7. หัวข้อ การเล่นเปียโนเบื้องต้น วิทยากร อาจารย์ไวศิษย์ ศศิบุตร เผยแพร่เมื่อวันที่ 13 พ.ค. 63 8. หัวข้อ "การเล่นกลองชุดเบื้องต้น" วิทยากร อาจารย์เอกพงศ์ เชิดธรรม เผยแพร่เมื่อวันที่ 19 มิ.ย. 63 9. หัวข้อ "การเล่นฟลูตเบื้องต้น" วิทยากร ผศ.ธีรวัฒน์ รัตนประภาเมธีรัฐ เผยแพร่เมื่อวันที่ 15 ก.ค. 2563 10. หัวข้อ "การเล่นดับเบิลเบสเบื้องต้น" วิทยากร อาจารย์ศุกล ศิริศักดิ์ เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 ส.ค. 63 5. กิจกรรมเผยแพร่ สืบสาน เพลงไทยสายกรุงเทพมหานคร (ไม่ใช้งบประมาณ) ดำเนินการคัดเลือกเพลงประเภทเพลง เถา เพื่อบันทึกทางฆ้องวงใหญ่ ตามแบบแผนวงดนตรีไทย กทม. เพื่อเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลความรู้ทางด้านดนตรีไทย และเผยแพร่สู่สาธารณะทางสื่อออนไลน์ (ยูทูป) ดังนี้ เพลงที่ 1 เขมรชมดงเถาทางฆ้องวงใหญ่ เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 ธ.ค. 62 เพลงที่ 2 เป็นเพลงโหมโรงจุฬามณี เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 ก.พ. 2563 เพลงที่ 3 เพลงพิรุณสร่างฟ้า เผยแพร่เมื่อวันที่ 3 มี.ค. 2563 เพลงที่ 4 เพลงพัฒนาเวียดนาม เผยแพร่เมื่อวันที่ 9 มี.ค. 2563 เพลงที่ 5 เพลงนํ้าลอดใต้ทราย เผยแพร่เมื่อวันที่ 13 มี.ค. 2563 เพลงที่ 6 โหมโรงสามสถาบัน เผยแพร่เมื่อวันที่ 16 มี.ค. 63 เพลงที่ 7 เพลงตามกวางเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 17 มี.ค. 63 เพลงที่ 8 เพลงเกสรสำอางเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 18 มี.ค. 63 เพลงที่ 9 เพลงเงี้ยวรำลึกเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 24 เม.ย. 2563 เพลงที่ 10 เพลงพันธ์ฝรั่งเถา เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 มิ.ย 2563 6. กิจกรรมเผยแพร่บทเพลงคลาสสิคและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีแชมเบอร์ผ่าน สื่อออนไลน์ (ไม่ใช้งบประมาณ) ดำเนินการเผยแพร่บทเพลงคลาสสิกและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีเชมเบอร์สู่สาธารณะเป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลความรู้ทางด้านเพลงคลาสสิกและเพลงไทยในรูปแบบวงดนตรีเชมเบอร์ที่สามารถเข้าถึงได้ผ่านทางสื่อออนไลน์ได้ดำเนินการคัดเลือกบทเพลงเพื่อบันทึกวิดีโอและบันทึกเสียง เผยแพร่ผ่านช่องทาง YOUTUBE และ Facebook กลุ่มงานดุริยางค์ซิมโฟนี กรุงเทพมหานครจำนวน 5 บทเพลง 1. เพลง ตุ้กตาขวัญใจเจ้าทุย เผยแพร่เมื่อวันที่ 27 มี.ค. 63 2. เพลง Quodlibet for Woodwind Quintet เผยแพร่เมื่อวันที่ 14 เม.ย. 63 3. เพลง มาลัย เผยแพร่เมื่อวันที่ 12 พ.ค. 63ห 4. เพลง Love Theme from Cinema Paradiso เผยแพร่เมื่อวันที่ 29 พ.ค. 63 5. เพลง "Intrada" from "Early Hungarian Dances" from the 17th Century เผยแพร่เมื่อวันที่ 8 ก.ค. 63
นิยาม/คำอธิบาย - ช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ หมายถึง ช่องทางที่ใช้สำหรับเผยแพร่ข้อมูลองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมในท้องถิ่นกรุงเทพมหานครที่ทำให้ประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายได้รับรู้ข้อมูลที่ต้องการเผยแพร่อย่างหลากหลายช่องทาง เช่น เว็บไซต์ สื่อโซเชียล สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ การจัดกิจกรรม การอบรมให้ความรู้ การสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การอภิปราย การประชุม การจัดแสดงนิทรรศการ ฯลฯ - ความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร หมายถึง ความรู้ด้านวัฒนธรรมที่มีอยู่ในแต่ละพื้นที่/ชุมชน ท้องถิ่น หรือส่วนราชการซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคล หรือเอกสาร และทั้งที่จับต้องได้และจับต้องไม่ได้ ซึ่งความรู้ด้านวัฒนธรรมดังกล่าวได้รับการพัฒนาปรับปรุงให้มีความสมบูรณ์เพื่อให้ทุกคนเข้าถึงความรู้นั้นๆ ได้อย่างสะดวก หรือเป็นสื่อให้เกิดการเรียนรู้ เข้าใจ และเคารพ ในความแต่งต่างซึ่งกันและกันของแต่ละวัฒนธรรม - พหุวัฒนธรรม หมายถึง ความหลากหลายทางวัฒนธรรมในสังคม เกิดจากการสร้างของวัฒนธรรม โดยมีปัจจัยทางศาสนา เชื้อชาติ อายุ เพศ ชนชั้นทางสังคม และการศึกษา - พหุวัฒนธรรมในกรุงเทพมหานคร หมายถึง วัฒนธรรมที่หลากหลายที่เกิดขึ้นในพื้นที่ 50 เขต ของกรุงเทพมหานคร
นับจากช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมในท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร โดยสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
เก็บข้อมูลจากช่องทางการเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรมในท้องถิ่นกรุงเทพมหานคร โดยสำนักวัฒนธรรม กีฬา และการท่องเที่ยว
:ด้านที่ ๓ - มหานครสำหรับทุกคน : Bangkok as a City for All |
:๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม |
:๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ% |
:๓.๔.๑.๔ รณรงค์สร้างความรู้ความเข้าใจด้านพหุวัฒนธรรมแก่ประชาชนในพื้นที่ |