รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

02. การลดและการคัดแยกมูลฝอย ที่แหล่งกำเนิด 2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ เป้าหมายร้อยละ 30 //2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ ( 993 ตันปี ) : 5045-0830

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 15

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 20.64

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลผลิต (output))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
3.26
100
100 / 100
2
8.77
100
100 / 100
3
13.16
100
100 / 100
4
20.64
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 5,690.03 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 2.77 ตัน จากเป้าหมาย 22.71 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 17,753.06 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 14.71 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 26,455.79 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 22.31 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 33,757.41 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 24.98 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

คัดแยกมูลฝอย 1. มูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดหมายถึง มูลฝอยที่สามารถนำกลับไปใช้ประโยชน์ได้ซึ่งคัดแยกจากบ้านเรือน ชุมชน โรงเรียน ศาสนสถาน ตลาด สถานประกอบการ ห้างสรรพสินค้า ฯลฯ 2. นำไปใช้ประโยชน์ หมายถึง การนำมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ตามคุณสมบัติของมูลฝอยเช่น ขาย ทำปุ๋ยหมัก เลี้ยงสัตว์ แปรรูป ถมที่ ฯลฯ ขยะอันตราย มูลฝอยอันตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยที่เป็นพิษหรืออันตราย ที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ในชุมชน ได้แก่ หลอดไฟ ถ่านไฟฉายและแบตเตอรี่ ภาชนะ บรรจุสารเคมี ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ และอื่นๆ เช่น ยาเม็ดหมดอายุ ผงคาร์บอน เป็นต้น โดยไม่รวมของเสียอันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรงงาน มูลฝอยทั่วไป มูลฝอยติดเชื้อ และกากกัมมันตรังสี

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

คัดแยกมูลฝอย ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบ ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ ต.ค.62 - ก.ย. 63) ขยะอันตราย ร้อยละของปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น เท่ากับ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2563 ลบ ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 หาร ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดปี 2560 คูณ 100 (ปริมาณมูลฝอยตั้งแต่ต.ค.62 - ก.ย. 63)

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

1. ดำเนินการตามค่าเป้าหมายรายเขตที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 2. ผลการดำเนินงานรายเขตใช้ข้อมูลจากระบบรายงานของสำนักสิ่งแวดล้อม ณ วันที่ 30 กันยายน 2562 3. สำนักงานเขตรายงานผลการ ดำเนินงานตามตัวชี้วัด โดยแยกเป็น 2 ตัวย่อย ผ่านระบบติดตามและประเมินผลของสำนักยุทธศาสตร์-และประเมินผลเป็นประจำทุกเดือน โดยต้องระบุรายละเอียดที่อธิบายได้ว่า ดำเนินการอย่างไร กับใคร ที่ไหน เมื่อไร พร้อมปริมาณที่จัดเก็บได้มูลฝอยและมูลฝอยอันตรายพร้อมระบุแหล่งกำเนิดที่ไปจัดเก็บ 4. จัดเตรียมเอกสารประกอบการดำเนินงานตามแนวทางที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนดไว้ ณ หน่วยงานเพื่อรับการประเมินผล

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๑ - ปลอดมลพิษ
:๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ%
:๑.๑.๒.๑ ลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอยตั้งแต่แหล่งกำเนิดจนถึงการกำจัดอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง