รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ร้อยละของห้องน้ำสาธารณะในกลุ่มเป้าหมายมีสุขลักษณะเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด : 0800-0913

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ : 70

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ : 81.6

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 0

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00
100
100 / 100
2
0.00
100
100 / 100
3
0.00
0
0 / 0
4
81.60
0
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1.ดำเนินการจ้างจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธี 2.จัดประชุมการพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 เพื่อหารือเกี่ยวกับการพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร การปรับปรุงเกณฑ์การตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เกณฑ์การสรรหาสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานครและการประกวดสุดยอดห้องน้ำแห่งปีของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ระหว่างเวลา 09.00 – 16.00 น. ณ ห้องประชุม 1 ชั้น 23 อาคารธานีนพรัตน์ กรุงเทพมหานคร (ดินแดง)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้สำนักเขตทั้ง 50 เขต ๆ ละ 500 แผ่น เพื่อแจกจ่ายแก่สถานที่กลุ่มเป้าหมาย 12 กลุ่มเป้าหมาย 2. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้แก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักการโยธา สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักเทศกิจ สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว และสำนักอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,250 แผ่น 3. ปรับปรุงแบบตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น 4. ส่งคืนงบประมาณกิจกรรมที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการ กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2563เนื่องจากสำนักอนามัย ขอความร่วมมือทุกส่วนราชการงดจัดกิจกรรมตามประกาศกรุงเทพมหานคร วันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่อง การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้สำนักเขตทั้ง 50 เขต ๆ ละ 500 แผ่น เพื่อแจกจ่ายแก่สถานที่กลุ่มเป้าหมาย 12 กลุ่มเป้าหมาย 2. จัดส่งสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การใช้ห้องน้ำสาธารณะที่ถูกวิธีให้แก่หน่วยงานในสังกัดกรุงเทพมหานคร เช่น สำนักงานเลขานุการปลัดกรุงเทพมหานคร สำนักการโยธา สำนักการแพทย์ สำนักการศึกษา สำนักเทศกิจ สำนักวัฒนธรรม กีฬาและการท่องเที่ยว และสำนักอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งสิ้นจำนวน 2,250 แผ่น 3. ปรับปรุงแบบตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะ ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เจ้าหน้าที่ทำงานได้สะดวกมากยิ่งขึ้น 4. ส่งคืนงบประมาณกิจกรรมที่ ๕ ส่งเสริมและพัฒนาสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะในกรุงเทพมหานคร ตามโครงการ กรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาด ปลอดภัย ประจำปีงบประมาณ 2563เนื่องจากสำนักอนามัย ขอความร่วมมือทุกส่วนราชการงดจัดกิจกรรมตามประกาศกรุงเทพมหานคร วันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่อง การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19))

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ผลการตรวจประเมินสุขลักษณะห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ประจำปีงบประมาณ 2563 ตามเกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำปรากฎว่า สำรวจจำนวนห้องน้ำทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร ได้ทั้งสิ้นจำนวน 4702 แห่ง ตรวจประเมินได้ทั้งสิ้นจำนวน 3973 แห่ง พบผ่านเกณฑ์ 3837 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 81.60 เมื่อคำนวนจากห้องน้ำที่สำรวจได้ทั้งหมด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ห้องน้ำสาธารณะ หมายถึง ห้องน้ำสาธารณะในที่สาธารณะหรือสถานประกอบการหรือสถานบริการที่จัดเตรียมไว้ให้ประชาชนทั่วไปใช้บริการ กลุ่มเป้าหมาย หมายถึง ห้องน้ำสาธารณะ จำนวน 12 กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ศาสนสถาน สถานีบริการน้ำมันเชื้อเพลิง ตลาดสด ร้านอาหาร โรงพยาบาล ห้างสรรพสินค้า/ศูนย์การค้า สถานที่ราชการ แหล่งท่องเที่ยว สวนสาธารณะ สถานศึกษา สถานีขนส่ง และห้องน้ำริมทาง เกณฑ์ที่กำหนด หมายถึง เกณฑ์มาตรฐานห้องน้ำสาธารณะของกรุงเทพมหานคร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

จำนวนห้องน้ำสาธารณะ 12 กลุ่มเป้าหมายที่ผ่านเกณฑ์ X 100 จำนวนห้องน้ำสาธารณะ 12 กลุ่มเป้าหมาย

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

-

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย
:๑.๖.๑ คนกรุงเทพฯ มีสุขภาวะทางกายและจิต มีพฤติกรรมสุขภาพที่ดี ไม่มีภาวะเจ็บป่วยจาก โร%
:๑.๖.๑.๕ สถานประกอบการที่มีความเสี่ยงสูงได้มาตรฐานด้านอาชีวอนามัย

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง