รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสามารถในการป้องกันน้ำท่วมเนื่องจาก น้ำหลากและน้ำหนุน ที่ความสูง +3.00 ม.รทก. (ผลลัพธ์) (สพน.) : 1100-0798

ค่าเป้าหมาย ร้อยละ...ของพื้นที่ : 90

ผลงานที่ทำได้ ร้อยละ...ของพื้นที่ : 100

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ...ของพื้นที่)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00
100
100 / 100
2
100.00
100
100 / 100
3
100.00
100
100 / 100
4
100.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ความยาวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร ความยาวของเขื่อนถาวรที่ก่อสร้างได้ 76.8 กิโลเมตร จาก 77 กิโลเมตร และติดอุปสรรค 0.2 กิโลเมตร โดยส่วนที่ติดอุปสรรคได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย ส่วนที่ไม่สามารถดำเนินการก่อสร้างเขื่อนถาวรได้และส่วนริมน้ำที่เป็นพื้นที่เอกชนอีกประมาณ 9 กิโลเมตร ได้ดำเนินการจัดเรียงกระสอบทราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ปริมาณน้ำหลาก หมายถึง ปริมาณน้ำเหนือที่ไหล่บ่าผ่านกรุงเทพมหานคร ส่งผลกระทบให้แม่น้ำเจ้าพระยามีระดับสูง ซึ่งขนาดของแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณกรุงเทพมหานคร สามารถรองรับได้ประมาณ 2,500 – 3,000 ลบ.ม. ต่อวินาทีโดยไม่มีน้ำล้นตลิ่ง ปริมาณน้ำหนุน หมายถึง ระดับน้ำทะเลเคลื่อนไหวขึ้นและลง โดยธรรมชาติจะส่งผลกระทบให้ระดับน้ำในแม่น้ำเจ้าพระยาบริเวณกรุงเทพมหานคร มีการขึ้น – ลงคล้อยตามกัน ความสามารถรองรับปริมาณน้ำหลากและน้ำหนุนที่ความสูง +3.00 ม.รทก. หมายถึง ระบบป้องกันน้ำท่วมโดยการสร้างแนวป้องกันน้ำท่วมริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัสดิ์ ในพื้นที่กรุงมหานคร เพื่อป้องกันน้ำท่วม จากน้ำหลากและน้ำทะเลหนุน ที่ระดับความสูง +3.00 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลปานกลาง (ม.รทก.) โดยแนวริมแม่น้ำเจ้าพระยาคลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ มีความยาวรวม 86 กิโลเมตร แบ่งเป็น 1. แนวริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ ที่สำนักระบายน้ำ สามารถดำเนินการสร้างคันกั้นน้ำถาวรได้มีความยาว 77 กิโลเมตร (ปัจจุบันดำเนินการก่อสร้างแล้ว 76.8 กิโลเมตร และติดอุปสรรคการก่อสร้าง 0.2 กิโลเมตร) 2. แนวริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ที่ไม่สามารถก่อสร้างคันกั้นน้ำถาวรได้ สำนักการระบายน้ำดำเนินการเรียงกระสอบทรายเป็นคันกั้นน้ำชั่วคราว ความยาวประมาณ 4.5 กิโลเมตร 3. แนวริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์ที่อยู่ในพื้นที่เอกชน เอกชนเจ้าของพื้นที่ดูแลรับผิดชอบเอง ความยาวประมาณ 4.5 กิโลเมตร

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระดับผลลัพธ์ : ร้อยละ 90 ของความยาวแนวริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัสดิ์ วิธีการคำนวณ = ความยาวแนวริมแม่น้ำฯที่สามารถป้องกันน้ำท่วมที่ความสูง +3.00 ม.รทก. X 100 ความยาวแนวริมแม่น้ำฯในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ระดับผลผลิต : ร้อยละ 100 ของการก่อสร้างคันกั้นน้ำริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อยและคลองมหาสวัสดิ์พื้นที่กรุงเทพมหานคร ที่ระดับความสูง +3.00 ม.รทก. วิธีการคำนวณ : แบ่งสัดส่วนการดำเนินการ ดังนี้ 1. ออกแบบและรายการ ร้อยละ 20 2. ขออนุมัติดำเนินการ ร้อยละ 10 3. จัดทำ TOR ร้อยละ 10 4. จัดหาผู้รับจ้าง ร้อยละ 5 5. ขออนุมัติจ้าง ร้อยละ 5 6. ดำเนินการก่อสร้าง ร้อยละ 50 การวัดร้อยละความสำเร็จของโครงการก่อสร้างฯ ร้อยละความสำเร็จ = ร้อยละความก้าวหน้า X 100 ร้อยละความสำเร็จ ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ย = ∑ร้อยละความสำเร็จ ∑จำนวนโครงการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

ความยาวแนวริมแม่น้ำเจ้าพระยา คลองบางกอกน้อย และคลองมหาสวัสดิ์

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง