ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50080000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียแต่ละประเภทในพื้นที่เขตให้สำนักการระบายน้ำ (หนังสือที่ กท 4704/6693 ลงวันที่ 13 ธันวาคม 2562)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- สำรวจและจัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจที่กำหนด - ประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ - รวบรวมแบบสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียจากสถานประกอบการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

- จัดทำข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียตามแบบสำรวจที่กำหนด - รวบรวมแบบสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสียจากสถานประกอบการ - จัดทำแบบรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดงานยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 (ตัวชี้วัดบูรณาการระหว่างสำนักการระบายน้ำและสำนักงานเขต)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ดำเนินโครงการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้แล้ว - จัดส่งรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดงานยุทธศาสตร์ตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ.2563 (ตัวชี้วัดบูรณาการระหว่างสำนักการระบายน้ำและสำนักงานเขต) หนังสือที่ กท ๔๗๐๔/๓๖๙๒ ลงวันที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๓

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(2) การลดและการคัดแยกมูลฝอย ที่แหล่งกำเนิด - ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน) - ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 ( 993 ตันปี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
การลดและการคัดแยกมูลฝอย ที่แหล่งกำเนิด
- ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
- ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 ( 993 ตันปี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :19.73


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.00

100 / 100
2
10.12

100 / 100
3
12.97

100 / 100
4
19.73

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด จำนวน 645 ตันต่อวัน ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด 11.5 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน 11,782.82 ตัน (25.87 ตันต่อวัน) คิดเป็นร้อยละ 10.12 -ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น 14.81 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 11.81

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน 16,603.28 ตัน (28.53 ตันต่อวัน) คิดเป็นร้อยละ 12.97 -ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.99

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน23,566.74 ตันต่อปี (64.39 ตันต่อวัน) - ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่ม19.26 ตันต่อปี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) การลดและการคัดแยกมูลฝอย ที่แหล่งกำเนิด - ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน) - ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 ( 993 ตันปี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
การลดและการคัดแยกมูลฝอย ที่แหล่งกำเนิด
- ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
- ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 ( 993 ตันปี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :20.00

ผลงาน :19.73

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
8.00

100 / 100
2
10.12

100 / 100
3
12.97

100 / 100
4
19.73

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิด จำนวน 645 ตันต่อวัน ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิด 11.5 ตัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน 11,782.82 ตัน (25.87 ตันต่อวัน) คิดเป็นร้อยละ 10.12 -ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น 14.81 ตันต่อปี คิดเป็นร้อยละ 11.81

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน 16,603.28 ตัน (28.53 ตันต่อวัน) คิดเป็นร้อยละ 12.97 -ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นร้อยละ 17.99

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- ปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น จำนวน23,566.74 ตันต่อปี (64.39 ตันต่อวัน) - ปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่ม19.26 ตันต่อปี

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(4) พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำแผนการปรับแก้ไขสภาพแวดล้อม และเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 3 ครั้ง/จุด/วัน และตรวจสอบ กล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวน 1 ครั้ง/จุด/วัน ดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 3 ครั้ง/จุด/วัน - จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวน 1 ครั้ง/จุด/วัน - ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดตัดแต่งกิ่งไม้ และประสานฝ่ายโยธาแก้ไขไฟฟ้าส่องสว่าง - ดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 3 ครั้ง/จุด/วัน ตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวน 1 ครั้ง/จุด/วัน ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดตัดแต่งกิ่งไม้ และประสานฝ่ายโยธาแก้ไขไฟฟ้าส่องสว่าง ดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นประจำทุกเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดเจ้าหน้าที่เทศกิจออกเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยงภัย จำนวน 3 ครั้ง/จุด/วัน ตรวจสอบกล้องวงจรปิด (CCTV) จำนวน 1 ครั้ง/จุด/วัน ประสานฝ่ายรักษาความสะอาดตัดแต่งกิ่งไม้ และประสานฝ่ายโยธาแก้ไขไฟฟ้าส่องสว่าง ดำเนินการรายงานให้สำนักเทศกิจทราบเป็นประจำทุกเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(5) ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :50.00

ผลงาน :50.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
50.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
50.00

100 / 100
4
50.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดกิจกรรมพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดเขตพญาไท เมื่อวันเสาร์ที่ 21 ธันวาคม 2562 ณ ห้องประชุมภาสะพงษ์ สำนักงานเขตพญาไท โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 150 คน เพื่อให้ความรู้ด้านสถานการณ์ รูปแบบภัยคุกคามต่างๆ การแจ้งข่าวรายงานข่าว ประเภทและภัยของยาเสพติด และบทบาทของ อส.กทม.ในสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมสาธิตวิธี CPR เบื้องต้น ข้อควรปฏิบัติเมื่อพบสัตว์เลื้อยคลานมีพิษ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการตั้งฎีกาเบิกจ่ายเงินของกิจกรรมที่ 1 และเตรียมการจัดกิจกรรมที่ 2 เดือนมิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 โดยการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด เนื่องในวันต่อต้านยาเสพติดโลก วันที่ 26 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดกิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ในชุมชนและสถานประกอบการ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๓ - ปลอดอุบัติเหตุ

(6) ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า 5.1 จำนวนครั้งในการตั้งจุดกวดขัน/วัน 5.2 ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้ทางเท้า
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๓.๑ ลดความสูญเสียจากอุบัติเหตุจราจร
ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า
    5.1 จำนวนครั้งในการตั้งจุดกวดขัน/วัน
    5.2 ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้ทางเท้า

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :87.30

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
80.00

100 / 100
2
95.00

100 / 100
3
95.00

100 / 100
4
87.30

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการมอบหมายหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานประจำตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า และในที่สาธารณะ ถนนพหลโยธิน เป็นประจำ 2 จุด/วัน และทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชน ผลการดำเนินคดีเปรียบเทียบปรับเดือนตุลาคม ถึงธันวาคม 2562 จำนวน 37 ราย เป็นเงิน 74,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดเจ้าหน้าที่เทศกิจปฏิบัติงานประจำตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า และในที่สาธารณะ ถนนพหลโยธิน เป็นประจำ 2 จุด/วันและทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของประชาชน ผลการดำเนินคดีเปรียบเทียบปรับ เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมีนาคม 2563 จำนวน 56 ราย เป็นเงิน 106,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ผลการดำเนินจับกุมผู้ฝ่าฝืนกระทำผิดตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 66 ราย จำนวนเงิน 129,000 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จับกุมผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถจักรยานยนต์ รถยนต์ บนทางเท้า ดำเนินคดี จำนวน 79 ราย เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 157,000 บาท สรุปผลการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 87.3

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๕ - สิ่งก่อสร้างปลอดภัย

(7) จำนวนโครงการที่ปรับปรุงซอย ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ (ผลผลิต)
[มิติที่ 1 : ]

๑.๕.๑ กรุงเทพมหานครมีความปลอดภัยต่อการใช้งานอาคารสาธารณะ ปลอดจากอุบัติภัยจาก สิ่งปลูกส
จำนวนโครงการที่ปรับปรุงซอย ที่ดำเนินการแล้วเสร็จ (ผลผลิต)

หน่วยนับ :โครงการ/กิจกรรม

เป้าหมาย :2.00

ผลงาน :2.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(โครงการ/กิจกรรม)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
2.00

100 / 100
2
2.00

100 / 100
3
2.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างรอการอนุมัติเปลี่ยนแปลงรายละเอียดเนื้องานและงบประมาณ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-อยู่ระหว่างแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดแบบรูปรายการและกำหนดราคากลาง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ชะลอการดำเนินการงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กรณีที่ยังไม่ก่อหนี้ผูกพัน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(8) ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
90.43

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สถานประกอบการอาหารทั้งสิ้น 470 ราย ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย 470 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-สถานประกอบการอาหารทั้งสิ้น 470 ราย ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย 470 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-สถานประกอบการอาหารทั้งสิ้น 470 ราย ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย 470 ราย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-สถานประกอบการอาหารทั้งสิ้น 470 ราย ได้รับป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย 425 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(9) ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง (ผลลัพธ์)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง (ผลลัพธ์)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ร่วมดำเนินการในนามกลุ่มกรุงเทพกลาง ล้างทำความสะอาด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ร่วมดำเนินการในนามกลุ่มกรุงเทพกลาง ล้างทำความสะอาดคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ร่วมดำเนินการในนามกลุ่มกรุงเทพกลาง ล้างทำความสะอาดคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ร่วมดำเนินการในนามกลุ่มกรุงเทพกลาง ล้างทำความสะอาดคลอง และปรับปรุงภูมิทัศน์รอบๆ คลอง

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(10) พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการสำรวจประชาสัมพันธ์เชิญชวนภาคเอกชนร่วมมือในการเพิ่มพื้นที่สีเขียว

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ตามหนังสือ สสล. ที่ กท 1106/1508 ลว. 20 มี.ค. 63 กำหนดเขตพญาไทเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 ไร่ 1 งาน 80 ตร.ว. (2,320 ตร.ม.) และดำเนินการประสานนิติบุคคลอาคารชุดดำเนินการจัดทำสวนหย่อมเพิ่มพื้นที่สีเขียว 1. คอนโด อินโทร พหลโยธิน+ประดิพัทธ์ จำนวน 240 ตร.ว. 2. เดอะริเซิร์ฟ พหล-ประดิพัทธ์ จำนวน 340 ตร.ว.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 ไร่ 1 งาน 80 ตร.ว. (2,320 ตร.ม.) ดังนี้ 1. คอนโด อินโทร พหลโยธิน+ประดิพัทธ์ ดำเนินการจัดทำสวนหย่อมเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 240 ตร.ว. 2. เดอะริเซิร์ฟ พหล-ประดิพัทธ์ ดำเนินการจัดทำสวนหย่อมเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 340 ตร.ว.

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 1 ไร่ 1 งาน 80 ตร.ว. (2,320 ตร.ม.) ดังนี้ 1. คอนโด อินโทร พหลโยธิน+ประดิพัทธ์ ดำเนินการจัดทำสวนหย่อมเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 240 ตร.ว. 2. เดอะริเซิร์ฟ พหล-ประดิพัทธ์ ดำเนินการจัดทำสวนหย่อมเพิ่มพื้นที่สีเขียว จำนวน 340 ตร.ว.

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(11) ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับเบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ - จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับเบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ
- จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ
- ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
73.67

100 / 100
3
99.59

100 / 100
4
89.50

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นประจำทุกวันโดยงดรับลงทะเบียนในเดือนธันวาคม 2562 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนมกราคม - มีนาคม 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

---ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(12) ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับเบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ - จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับเบี้ยยังชีพผู้สุงอายุ
- จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ
- ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
73.67

100 / 100
3
99.59

100 / 100
4
89.50

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุเป็นประจำทุกวันโดยงดรับลงทะเบียนในเดือนธันวาคม 2562 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนมกราคม - มีนาคม 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

--ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

---ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุผ่านช่องทางเว็บไซต์ เฟสบุ๊ค เอกสารประชาสัมพันธ์ - การรับลงทะเบียนเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - กันยายน 2563 และทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(13) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :จำนวน (ครั้ง)

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน (ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ ร่วมการถ่ายทอดภูมิปัญญาความรู้ให้แก่รุ่นหลังต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-เตรียมโครงการสำหรับขออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- งดจัดกิจกรรมเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(14) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ
[มิติที่ 1 : ]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ

หน่วยนับ :จำนวน (ครั้ง)

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน (ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการประชาสัมพันธ์เชิญชวนผู้สูงอายุที่มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในสาขาต่าง ๆ ร่วมการถ่ายทอดภูมิปัญญาความรู้ให้แก่รุ่นหลังต่อไป

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-เตรียมโครงการสำหรับขออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- งดจัดกิจกรรมเนื่องจากไม่ได้รับงบประมาณ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางเศรษฐกิจ

(15) ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพเป็นไปตามแผนที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด
ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพเป็นไปตามแผนที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :40.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
40.00

100 / 100
4
40.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจความต้องการหลักสูตรการอบรมวิชาชีพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-เตรียมโครงการเพื่อขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ไม่ได้รับงบประมาณเนื่องจากสถานการณ์โควิด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๒ - เมืองแห่งโอกาสทางสังคม

(16) ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพเป็นไปตามแผนที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ]

๓.๒.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในเรื่องแรงงาน
ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมวิชาชีพเป็นไปตามแผนที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :40.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
20.00

100 / 100
3
40.00

100 / 100
4
40.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการสำรวจความต้องการหลักสูตรการอบรมวิชาชีพ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-เตรียมโครงการเพื่อขออนุมัติเงินประจำงวดที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-รออนุมัติเงินประจำงวด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ไม่ได้รับงบประมาณเนื่องจากสถานการณ์โควิด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(17) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :64.30

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
25.00

100 / 100
3
64.30

100 / 100
4
64.30

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงเรียนดำเนินการสอนเสริมให้กับนักเรียนในวันหยุดและในเวลาพัก เพื่อเตรียมการทดสอบO-NET ในเดือนกุมภาพันธ์ และสำนักการศึกษาได้จัดการทดสอบ Pre O-NET ในวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ผลการทดสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดไผ่ตัน จำนวน 86 คน มีคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ภาษาไทย 53.90 คณิตศาสตร์ 31.16 วิทยาศาสตร์ 33.40 และภาษาอังกฤษ 36.69 อยู่ระหว่างการส่งผลการทดสอบให้สำนักการศึกษาตรวจสอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- โรงเรียนดำเนินการสอนเสริมให้กับนักเรียนในวันหยุดและในเวลาพัก เพื่อเตรียมการทดสอบO-NET ในเดือนกุมภาพันธ์ และสำนักการศึกษาได้จัดการทดสอบ Pre O-NET ในวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ผลการทดสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดไผ่ตัน จำนวน 86 คน มีคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ภาษาไทย 53.90 คณิตศาสตร์ 31.16 วิทยาศาสตร์ 33.40 และภาษาอังกฤษ 36.69 อยู่ระหว่างการส่งผลการทดสอบให้สำนักการศึกษาตรวจสอบ - ฝ่ายการศึกษา ดำเนินการจัดการทดสอบฯ ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักการศึกษา (ศูนย์สอบกรุงเทพมหานคร) กำหนดเรียบร้อยแล้ว และได้รับการรายงานผลคะแนนของโรงเรียนผ่านทางเว็บไซต์ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) แล้ว พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55 อยู่ระหว่างการคำนวณผลคะแนนจากสำนักการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลคะแนนของโรงเรียนจากสำนักการศึกษา พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานผลคะแนนของโรงเรียนจากสำนักการศึกษา พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55 เมื่อนำมาคำนวณผลตามตัวชี้วัด พบว่า ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(18) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน มีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :64.30


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
10.00

100 / 100
2
25.00

100 / 100
3
64.30

100 / 100
4
64.30

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

โรงเรียนดำเนินการสอนเสริมให้กับนักเรียนในวันหยุดและในเวลาพัก เพื่อเตรียมการทดสอบO-NET ในเดือนกุมภาพันธ์ และสำนักการศึกษาได้จัดการทดสอบ Pre O-NET ในวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ผลการทดสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดไผ่ตัน จำนวน 86 คน มีคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ภาษาไทย 53.90 คณิตศาสตร์ 31.16 วิทยาศาสตร์ 33.40 และภาษาอังกฤษ 36.69 อยู่ระหว่างการส่งผลการทดสอบให้สำนักการศึกษาตรวจสอบ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

- โรงเรียนดำเนินการสอนเสริมให้กับนักเรียนในวันหยุดและในเวลาพัก เพื่อเตรียมการทดสอบO-NET ในเดือนกุมภาพันธ์ และสำนักการศึกษาได้จัดการทดสอบ Pre O-NET ในวันที่ 13 ธันวาคม 2562 ผลการทดสอบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดไผ่ตัน จำนวน 86 คน มีคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ภาษาไทย 53.90 คณิตศาสตร์ 31.16 วิทยาศาสตร์ 33.40 และภาษาอังกฤษ 36.69 อยู่ระหว่างการส่งผลการทดสอบให้สำนักการศึกษาตรวจสอบ - ฝ่ายการศึกษา ดำเนินการจัดการทดสอบฯ ตามหลักเกณฑ์ที่สำนักการศึกษา (ศูนย์สอบกรุงเทพมหานคร) กำหนดเรียบร้อยแล้ว และได้รับการรายงานผลคะแนนของโรงเรียนผ่านทางเว็บไซต์ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) แล้ว พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55 อยู่ระหว่างการคำนวณผลคะแนนจากสำนักการศึกษา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

รายงานผลคะแนนของโรงเรียนจากสำนักการศึกษา พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

รายงานผลคะแนนของโรงเรียนจากสำนักการศึกษา พบว่า โรงเรียนวัดไผ่ตัน มีจำนวนผู้เข้าสอบ 78 คน มีผลคะแนนเฉลี่ยรายวิชาสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยในระดับประเทศ 1 วิชา คือ วิชาภาษาไทย โดยเปรียบเทียบผลคะแนนรายวิชา โดยสรุป ดังนี้ ภาษาไทย* คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 52.97 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ=49.07 ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.87 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 34.42 คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 31.03 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 32.90 วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ยระดับโรงเรียน = 30.57 คะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ= 35.55 เมื่อนำมาคำนวณผลตามตัวชี้วัด พบว่า ต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนดไว้

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๔ - สังคมพหุวัฒนธรรม

(19) จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย
[มิติที่ 1 : ]

๓.๔.๑ คนกรุงเทพฯที่มีความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขและ
จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมวันสำคัญอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมประเพณีไทย

หน่วยนับ :จำนวน (ครั้ง)

เป้าหมาย :5.00

ผลงาน :3.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(จำนวน (ครั้ง))
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.00

100 / 100
2
3.00

100 / 100
3
3.00

100 / 100
4
3.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

กำหนดจัดกิจกรรมวันเด็ก วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา วันสงกรานต์และวันผู้สูงอายุ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมเวียนเทียนวันมาฆบูชา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

-ดำเนินการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ กิจกรรมวันมาฆบูชา กิจกรรมวันวิสาขบูชา

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- งดจัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(20) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ดำเนินการทุกโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

-ดำเนินการทุกโครงการเป็นไปตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินโครงการที่รับการอนุมัติเงินงวดเป็นไปตามแผนที่กำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินโครงการที่ได้รับงบประมาณแล้วเสร็จเป็นไปตามแผนที่กำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(21) ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้ 1. ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี 2. ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
ความสำเร็จของการจัดเก็บรายได้
1. ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
2. ร้อยละของการบังคับภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ระหว่างดำเนินการรับแจ้งการครอบครองกรรมสิทธิ์อาคารชุด ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ.2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ดำเนินการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมีนาคม 2563 จำนวน 17,872,559.16 บาท ดังนี้ - ประเภทภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป้าหมายการจัดเก็บ 280,000,000 บาท ผลดำเนินการ 0 บาท - ประเภทภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 200,000 บาท ผลดำเนินการ 81,523.24 บาท - ประเภทภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 11,500,000 บาท ผลดำเนินการ 11,700,993.82 บาท - ประเภทภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 14,800,000 บาท ผลดำเนินการ 6,090,042.10 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ดำเนินการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีป้าย ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 ถึงเดือนมิถุนายน 2563 จำนวน 23,941,624.18 บาท - ประเภทภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง เป้าหมายการจัดเก็บ 280,000,000 บาท ผลดำเนินการ 0 บาท - ประเภทภาษีบำรุงท้องที่ เป้าหมายการจัดเก็บ 200,000 บาท ผลดำเนินการ 117,682.06 บาท - ประเภทภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป้าหมายการจัดเก็บ 11,500,000 บาท ผลดำเนินการ 12,891,765.62 บาท - ประเภทภาษีป้าย เป้าหมายการจัดเก็บ 14,800,000 บาท ผลดำเนินการ 10,932,176.50 บาท

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

-ดำเนินการจัดทำบัญชีรายการผู้เสียภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ประจำปี พ.ศ. 2563 จำนวน 9,212 ราย และดำเนินการแจ้งแบบรายการเสียภาษีได้ครบทั้งหมด 9,212 ราย

** สรุปผลการดำเนินงาน **