ผลการปฏิบัติราชการประจำปี : ของหน่วยงาน : 50010000

Home Home SED


๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(1) 1. ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ
1. ความสำเร็จในการจัดทำระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ฐานข้อมูล

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :1.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ฐานข้อมูล)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.80

100 / 100
2
0.80

100 / 100
3
0.90

100 / 100
4
1.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตพระนครจัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตพระนคร จำนวน 85 แห่ง ให้สำนักการระบายน้ำได้ตามกำหนด (วันที่ 27 ธันวาคม 2562)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตพระนครจัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตพระนคร จำนวน 85 แห่ง ให้สำนักการระบายน้ำได้ตามกำหนด (วันที่ 27 ธันวาคม 2562) และอยู่ระหว่างดำเนินการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตพระนครจัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตพระนคร จำนวน 85 แห่ง ให้สำนักการระบายน้ำได้ตามกำหนด (วันที่ 27 ธันวาคม 2562) และอยู่ระหว่างดำเนินการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- สำนักงานเขตพระนครดำเนินการสำรวจและจัดส่งข้อมูลสถานประกอบการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในพื้นที่เขตพระนคร จำนวน 85 แห่ง ให้สำนักการระบายน้ำได้ตามกำหนด (วันที่ 27 ธันวาคม 2562) - สำนักงานเขตพระนครส่งรายงานผลการดำเนินงานพร้อมแบบสำรวจข้อมูลแหล่งกำเนิดน้ำเสีย ตามเป้าหมายที่กำหนด ให้สำนักการระบายน้ำ ภายในเดือนสิงหาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว - สำนักงานเขตพระนครดำเนินการประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสีย และการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียของกรุงเทพมหานครให้แก่สถานประกอบการ และรายงานผลการดำเนินงานให้สำนักการระบายน้ำภายในเดือนสิงหาคม 2563 เรียบร้อยแล้ว

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(2) 2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :17.30


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
17.30

100 / 100
2
17.46

100 / 100
3
17.43

100 / 100
4
16.75

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.25 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 115.34 (ข้อมูล ต.ค.62-ธ.ค.62)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.83 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 116.41 (ข้อมูล ต.ค.62-มี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.72 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 116.21 (ข้อมูล ต.ค.62-มิ.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – เดือนกันยายน 25563 มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 60.25 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 111.63 คิดเทียบ ร้อยละ 15 ได้เท่ากับ ร้อยละ 16.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(3) 2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
2.1 ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและนำกลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2560 (2,419.97 ตันต่อวัน)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :15.00

ผลงาน :17.30

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
17.30

100 / 100
2
17.46

100 / 100
3
17.43

100 / 100
4
16.75

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.25 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 115.34 (ข้อมูล ต.ค.62-ธ.ค.62)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.83 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 116.41 (ข้อมูล ต.ค.62-มี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 62.72 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 116.21 (ข้อมูล ต.ค.62-มิ.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – เดือนกันยายน 25563 มูลฝอยอินทรีย์และขยะรีไซเคิล : สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 60.25 ตัน/วัน จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 53.97 ตัน/วัน คิดเป็นร้อยละ 111.63 คิดเทียบ ร้อยละ 15 ได้เท่ากับ ร้อยละ 16.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๑.๑ - ปลอดมลพิษ

(4) 2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย1
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :4.17

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.92

100 / 100
2
3.10

100 / 100
3
4.17

100 / 100
4
5.51

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 3.84 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 19.18 (ข้อมูล ต.ค.62-ธ.ค.62)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 6.20 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 30.97 (ข้อมูล ต.ค.62-มี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 8.35 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 41.71 (ข้อมูล ต.ค.62 - มิ.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 11.03 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 55.09 (ข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – เดือนกันยายน 2563) คิดเทียบร้อยละ 10 ได้เท่ากับ ร้อยละ 5.51

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๑ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(5) 2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 (993 ตันต่อปี)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๑.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปราศจากยาเสพติดและการก่อการร้าย
2.2 ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี พ.ศ.2560 (993 ตันต่อปี)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :10.00

ผลงาน :4.17

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
1.92

100 / 100
2
3.10

100 / 100
3
4.17

100 / 100
4
5.51

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 3.84 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 19.18 (ข้อมูล ต.ค.62-ธ.ค.62)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 6.20 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 30.97 (ข้อมูล ต.ค.62-มี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 8.35 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 41.71 (ข้อมูล ต.ค.62 - มิ.ย.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตพระนครสามารถดำเนินการได้ 11.03 ตัน/ปี จากเป้าหมายที่สำนักสิ่งแวดล้อมกำหนด 20.02 ตัน/ปี คิดเป็นร้อยละ 55.09 (ข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – เดือนกันยายน 2563) คิดเทียบร้อยละ 10 ได้เท่ากับ ร้อยละ 5.51

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(6) 3. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
3. พื้นที่เสี่ยงภัยได้รับการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรม

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด และในไตรมาสที่ 1 และส่งรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน โดยไม่เกินวันที่ 5 ของเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด และในไตรมาสที่ 2 และส่งรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน โดยไม่เกินวันที่ 5 ของเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด และในไตรมาสที่ 3 และส่งรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน โดยไม่เกินวันที่ 5 ของเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สำนักงานเขตพระนคร มีจุดเสี่ยงภัยทั้งหมด 24 จุด สามารถดำเนินการแก้ไข เฝ้าระวัง และตรวจตราจุดเสี่ยงภัยได้ครบตามแผนที่วางไว้ โดยจุดเสี่ยงภัย แบ่งเป็น จุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอาชญากรรม จำนวน 15 จุด และจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุ จำนวน 9 จุด รวมทั้งสิ้น 24 จุด และส่งรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน โดยไม่เกินวันที่ 5 ของเดือน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(7) 11. ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
11. ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขตพระนคร ครั้งที่ 1 วันที่ 26 ธันวาคม 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขตพระนคร ครั้งที่ 2 วันที่ 30 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการได้ ยกเลิกโครงการ และส่งคืนเงินงบประมาณ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(8) 11. ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
11. ร้อยละของอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติดได้รับการพัฒนาศักยภาพ

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :60.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขตพระนคร ครั้งที่ 1 วันที่ 26 ธันวาคม 2562

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดประชุมคณะกรรมการศูนย์ปฏิบัติการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดเขตพระนคร ครั้งที่ 2 วันที่ 30 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการได้ ยกเลิกโครงการ และส่งคืนเงินงบประมาณ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอาชญากรรมและยาเสพติด

(9) 13. ร้อยละความสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดำเนินงาน “พระนคร เขตปลอดบุหรี่”
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา
13. ร้อยละความสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดำเนินงาน “พระนคร เขตปลอดบุหรี่”

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

แต่งตั้งคณะทำงานระดับเขต และประชุมคณะทำงานระดับเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมจัดอบรมอภิปรายการปฏิบัติตามกฎหมาย พ.ร.บ.ยาสูบ แต่ต้องชะลอโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ต้องยกเลิกการจัดอบรมและประชุม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดอบรมและอภิปรายการปฏิบัติตามกฎหมาย พ.ร.บ.ยาสูบได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการได้ ยกเลิกโครงการ และส่งคืนเงินงบประมาณ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๒ - ปลอดอุบัติเหตุ

(10) 13. ร้อยละความสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดำเนินงาน “พระนคร เขตปลอดบุหรี่”
[มิติที่ 1 : ]

๑.๒.๑ ระบบขนส่งมวลชนปลอดอุบัติเหตุ (ราง รถ เรือ BRT รถเมล์)
13. ร้อยละความสำเร็จของผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ในการดำเนินงาน “พระนคร เขตปลอดบุหรี่”

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

แต่งตั้งคณะทำงานระดับเขต และประชุมคณะทำงานระดับเขต

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

เตรียมจัดอบรมอภิปรายการปฏิบัติตามกฎหมาย พ.ร.บ.ยาสูบ แต่ต้องชะลอโครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ต้องยกเลิกการจัดอบรมและประชุม

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ไม่สามารถจัดอบรมและอภิปรายการปฏิบัติตามกฎหมาย พ.ร.บ.ยาสูบได้

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ไม่สามารถดำเนินการได้ ยกเลิกโครงการ และส่งคืนเงินงบประมาณ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๑.๖ - ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย

(11) 4. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน
4. ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :80.00

ผลงาน :97.43

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
18.11

100 / 100
2
18.11

100 / 100
3
18.11

100 / 100
4
97.43

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตพระนครมีจำนวนทั้งสิ้น 740 แห่ง จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีจำนวนทั้งสิ้น 134 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตพระนครมีจำนวนทั้งสิ้น 740 แห่ง จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีจำนวนทั้งสิ้น 134 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตพระนครมีจำนวนทั้งสิ้น 740 แห่ง จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีจำนวนทั้งสิ้น 134 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 18.11

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

สถานประกอบการอาหารในพื้นที่เขตพระนครมีจำนวนทั้งสิ้น 740 แห่ง จำนวนสถานประกอบการอาหารที่ได้รับการส่งเสริมผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี มีจำนวนทั้งสิ้น 721 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 97.43

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๒.๑ - ภูมิทัศน์สวยงาม

(12) 8. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการ ตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า (8.1 จำนวนครั้งในการตั้งจุดกวดขัน/วัน - 2 ครั้ง/วัน 8.2 ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้ทางเท้า - ร้อยละ 80)
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
8. ร้อยละความสำเร็จในการดำเนินการ ตั้งจุดกวดขันผู้กระทำผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า (8.1 จำนวนครั้งในการตั้งจุดกวดขัน/วัน - 2 ครั้ง/วัน 8.2 ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้ทางเท้า - ร้อยละ 80)

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตามจุดตรวจที่กำหนดไว้ 3 จุด คือ บริเวณถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินใน และถนนจักรเพชร โดยตั้งจุดกวดขันจำนวน 2 ครั้ง/วัน เพื่อกวดขันไม่ให้มีผู้จอดหรือขับขี่รถบน ทางเท้า มีการทำคำสั่งมอบหมายงาน ทำแผนปฏิบัติงานการตั้งจุดกวดขัน จับปรับ รถจอดและวิ่งบนทางเท้า และรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตามจุดตรวจที่กำหนดไว้ 3 จุด คือ บริเวณถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินใน และถนนจักรเพชร โดยตั้งจุดกวดขันจำนวน 2 ครั้ง/วัน เพื่อกวดขันไม่ให้มีผู้จอดหรือขับขี่รถบน ทางเท้า มีการทำคำสั่งมอบหมายงาน ทำแผนปฏิบัติงานการตั้งจุดกวดขัน จับปรับ รถจอดและวิ่งบนทางเท้า และรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตามจุดตรวจที่กำหนดไว้ 3 จุด คือ บริเวณถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินใน และถนนจักรเพชร โดยตั้งจุดกวดขันจำนวน 2 ครั้ง/วัน เพื่อกวดขันไม่ให้มีผู้จอดหรือขับขี่รถบน ทางเท้า มีการทำคำสั่งมอบหมายงาน ทำแผนปฏิบัติงานการตั้งจุดกวดขัน จับปรับ รถจอดและวิ่งบนทางเท้า และรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จัดเจ้าหน้าที่ออกตรวจตามจุดตรวจที่กำหนดไว้ 3 จุด คือ บริเวณถนนราชดำเนินกลาง ถนนราชดำเนินใน และถนนจักรเพชร โดยตั้งจุดกวดขันจำนวน 2 ครั้ง/วัน เพื่อกวดขันไม่ให้มีผู้จอดหรือขับขี่รถบน ทางเท้า มีการทำคำสั่งมอบหมายงาน ทำแผนปฏิบัติงานการตั้งจุดกวดขัน จับปรับ รถจอดและวิ่งบนทางเท้า และรายงานให้สำนักเทศกิจทุกสิ้นเดือน โดยผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้ทางเท้า เท่ากับ ร้อยละ 85.67

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(13) 10. ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า
10. ร้อยละความสำเร็จในการพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง และจัดประชุมคณะทำงานพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาดคลอง

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาด ครั้งที่ 1 พร้อมกันทุกสำนักงานเขตในกลุ่มกรุงเทพกลางในวันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 และจัดกิจกรรมครั้งที่ 2 ในวันอังคารที่ 31 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จัดกิจกรรมพัฒนาปรับปรุงภูมิทัศน์และรักษาความสะอาด เทน้ำจุลินทรีย์ รณรงค์ประชาสัมพันธ์และแจกน้ำหมักชีวภาพให้ประชาชน ครั้งที่ 3 ในวันที่ 24 เมษายน 2563 ครั้งที่ 4 ในวันที่ 22 พฤษภาคม 2563 และครั้งที่ 5 ในวันที่ 26-27 มิถุนายน 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

เขตพระนครรับผิดชอบคลองคูเมืองเดิม จัดกิจกรรมทำความสะอาด กวาดเก็บขยะ ล้างถนนทางเท้า ทาสีสะพาน ปลูกต้นไม้ เทน้ำจุลินทรีย์ รณรงค์ประชาสัมพันธ์การลดและคัดแยกขยะและแจกน้ำหมักชีวภาพให้ประชาชน จำนวน 6 ครั้ง ได้แก่ ครั้งที่ 1 : 21 กุมภาพันธ์ 2563 ครั้งที่ 2 : 31 มีนาคม 2563 ครั้งที่ 3 : 24 เมษายน 2563 ครั้งที่ 4 : 22 พฤษภาคม 2563 ครั้งที่ 5: 26-27 มิถุนายน 2563 ครั้งที่ 6: 24 กรกฎาคม 2563

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๒.๒ - มีพื้นที่สาธารณะ พื้นที่สีเขียวกระจายทั่วทุกพื้นที่

(14) 5. พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ
5. พื้นที่สีเขียวที่เพิ่มขึ้น

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

1. สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด และส่งรายงานให้สำนักสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่กำหนด (วันที่ 23 ธันวาคม 2562) 1.1 พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม - สวนสามพระยา (สนข.ดำเนินการ) 1.2 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ : ไม่มีพื้นที่สีเขียว จึงขอรับการยกเว้น ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 2 มีการรายงานข้อมูลในระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

1.สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด และส่งรายงานให้สำนักสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่กำหนด (วันที่ 23 ธันวาคม 2562) 1.1 พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม - สวนสามพระยา (สนข.ดำเนินการ) 1.2 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ : ไม่มีพื้นที่สีเขียว จึงขอรับการยกเว้น ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 2.มีการรายงานข้อมูลในระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร : รายงานได้ครบทุกครั้งและทันตามกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

1.สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตามรายละเอียดที่กำหนด และส่งรายงานให้สำนักสิ่งแวดล้อมภายในระยะเวลาที่กำหนด (วันที่ 23 ธันวาคม 2562) 1.1 พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม - สวนสามพระยา (สนข.ดำเนินการ) 1.2 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ : ไม่มีพื้นที่สีเขียว จึงขอรับการยกเว้น ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค.,มี.ค.,มิ.ย.,ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 2.มีการรายงานข้อมูลในระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร : รายงานได้ครบทุกครั้งและทันตามกำหนด

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

1. สำรวจ รวบรวม และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในส่วนที่รับผิดชอบตาม รายละเอียดที่กำหนด และส่งรายงานให้สำนักสิ่งแวดล้อมภายใน ระยะเวลาที่กำหนด (วันที่ 23 ธันวาคม 2562) 1.1 พื้นที่สีเขียวที่เป็นสวนสาธารณะ/สวนหย่อม - สวนสามพระยา ดำเนินการปรับปรุงสวนโดยไม่ใช้งบประมาณ ได้แก่ ปูหญ้า ปลูกต้นไม้ และส่งคืนงบประมาณเรียบร้อยแล้ว 1.2 พื้นที่สีเขียวที่ไม่ได้อยู่ในรูปแบบสวนสาธารณะ : ไม่มีพื้นที่สีเขียว จึงขอรับการยกเว้น ให้ใช้การรายงานผลการเปลี่ยนแปลงสภาพพื้นที่สีเขียวในพื้นที่เขตรวม 4 ครั้ง/ปี (ธ.ค., มี.ค., มิ.ย., ก.ย.) ตามแบบฟอร์มที่กำหนด 2. มีการรายงานข้อมูลในระบบติดตามประเมินผลการเพิ่มพื้นที่สีเขียวของกรุงเทพมหานคร : รายงานได้ครบทุกครั้งและทันตามกำหนด

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๓.๑ - ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(15) 9. ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 9.1 จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - 3 ช่องทาง 9.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - ร้อยละ 80
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี
9. ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 
9.1 จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - 3 ช่องทาง
9.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - ร้อยละ 80

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 6 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line แจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่ออกเยี่ยมชุมชนตามแผนตรวจเยี่ยมชุมชน และการสำรวจความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากแบบสอบถามจำนวน 411 ฉบับ ผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน เท่ากับ ร้อยละ 90.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๑ - ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแลอย่างครบวงจร

(16) 9. ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 9.1 จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - 3 ช่องทาง 9.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - ร้อยละ 80
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร
9. ระดับความสำเร็จของการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 
9.1 จำนวนช่องทางการประชาสัมพันธ์ฯ - 3 ช่องทาง
9.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - ร้อยละ 80

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 4 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการแจ้งประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารการรับสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 6 ช่องทาง ได้แก่ แจ้งในที่ประชุมกรรมการชุมชนเป็นประจำทุกเดือน ไปรษณีย์ Facebook Line แจกแผ่นพับประชาสัมพันธ์ ลงพื้นที่ออกเยี่ยมชุมชนตามแผนตรวจเยี่ยมชุมชน และการสำรวจความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากแบบสอบถามจำนวน 411 ฉบับ ผลการสำรวจความพึงพอใจของประชาชน เท่ากับ ร้อยละ 90.75

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๓.๓ - การศึกษาสำหรับทุกคน

(17) 6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :72.40

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
72.40

100 / 100
4
72.40

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโรงเรียนดำเนินการสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 4 กลุ่มวิชา คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาไทย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกโรงเรียนในสังกัดเขตพระนคร ได้ดำเนินการสอบโอเน็ต ใน 4 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาตร์ และภาษาอังกฤษ โดยสทศ.จะประกาศผลสอบในวันที่ 25 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ปีการศึกษา 2562 ของสำนักงานเขตพระนคร ทั้ง 4 วิชา มีดังนี้ ภาษาไทย 51.58 อังกฤษ 36.72 คณิตศาสตร์ 36.01 วิทยาศาสตร์ 38.84 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยระดับเขตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทั้ง 4 วิชาคะแนนความสำเร็จของระดับเขต (10 คะแนน) ได้คะแนน 7.24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.40 มีรายละเอียดดังนี้ 1.คะแนนพัฒนาการรายวิชาได้ 0.50 คะแนน 2.คะแนนความสำเร็จรายวิชาได้ 6.74 คะแนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ปีการศึกษา 2562 ของสำนักงานเขตพระนคร ทั้ง 4 วิชา มีดังนี้ ภาษาไทย 51.58 อังกฤษ 36.72 คณิตศาสตร์ 36.01 วิทยาศาสตร์ 38.84 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยระดับเขตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทั้ง 4 วิชาคะแนนความสำเร็จของระดับเขต (10 คะแนน) ได้คะแนน 7.24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.40 มีรายละเอียดดังนี้ 1.คะแนนพัฒนาการรายวิชาได้ 0.50 คะแนน 2.คะแนนความสำเร็จรายวิชาได้ 6.74 คะแนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

(18) 6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๓.๓.๑ เด็กที่อาศัยอยู่ในกรุงเทพมหานครทุกคนจะต้องได้รับการศึกษาตามความต้องการ
6. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานของโรงเรียนมีคะแนนเฉลี่ยตามเกณฑ์ที่กำหนด

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :72.40


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
72.40

100 / 100
4
72.40

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโรงเรียนดำเนินการสอนเสริมแบบเข้มให้กับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ใน 4 กลุ่มวิชา คือ ภาษาอังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาไทย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกโรงเรียนในสังกัดเขตพระนคร ได้ดำเนินการสอบโอเน็ต ใน 4 รายวิชา ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาตร์ และภาษาอังกฤษ โดยสทศ.จะประกาศผลสอบในวันที่ 25 มีนาคม 2563

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ปีการศึกษา 2562 ของสำนักงานเขตพระนคร ทั้ง 4 วิชา มีดังนี้ ภาษาไทย 51.58 อังกฤษ 36.72 คณิตศาสตร์ 36.01 วิทยาศาสตร์ 38.84 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยระดับเขตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทั้ง 4 วิชาคะแนนความสำเร็จของระดับเขต (10 คะแนน) ได้คะแนน 7.24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.40 มีรายละเอียดดังนี้ 1.คะแนนพัฒนาการรายวิชาได้ 0.50 คะแนน 2.คะแนนความสำเร็จรายวิชาได้ 6.74 คะแนน

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

คะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (o-net) ปีการศึกษา 2562 ของสำนักงานเขตพระนคร ทั้ง 4 วิชา มีดังนี้ ภาษาไทย 51.58 อังกฤษ 36.72 คณิตศาสตร์ 36.01 วิทยาศาสตร์ 38.84 ซึ่งคะแนนเฉลี่ยระดับเขตสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทั้ง 4 วิชาคะแนนความสำเร็จของระดับเขต (10 คะแนน) ได้คะแนน 7.24 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 72.40 มีรายละเอียดดังนี้ 1.คะแนนพัฒนาการรายวิชาได้ 0.50 คะแนน 2.คะแนนความสำเร็จรายวิชาได้ 6.74 คะแนน

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๔.๑ - กรุงเทพมหานครเติบโตอย่างเป็นระเบียบตามผังเมืองรวม

(19) 12. ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร
[มิติที่ 1 : ]

๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ
12. ร้อยละของการลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านและลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคาร

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
100.00

100 / 100
2
100.00

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร เท่ากับ 3 จำนวนอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เท่ากับ 2 ดังนั้น คิดเป็นร้อยละ 100 (ต.ค.62-ธ.ค.62)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร เท่ากับ 8 จำนวนอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เท่ากับ 3 ดังนั้น คิดเป็นร้อยละ 100 (ต.ค.62-มี.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนการอนุญาตก่อสร้างอาคาร และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งการอนุญาตก่อสร้างอาคาร เท่ากับ 9 จำนวนอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน และจำนวนจุดที่ลงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้าน เท่ากับ 4 ดังนั้น คิดเป็นร้อยละ 100 (ต.ค.62-พ.ค.63)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

- การลงจุดแสดงตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านครบตามจำนวนที่ได้รับอนุญาต ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – เดือนกันยายน 2563 มีจำนวน 6 เลขหมาย คิดเป็นร้อยละ 100 - การลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ที่อนุญาตให้มีการก่อสร้างอาคารครบตามจำนวนที่ได้รับอนุญาต ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 - เดือนกันยายน 2563 มีจำนวน 13 จุด คิดเป็นร้อยละ 100

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๕.๒ - เมืองธรรมาภิบาล

(20) 14. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนเขต
[มิติที่ 1 : ]

๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง
14. จำนวนครั้งของการจัดกิจกรรมส่งเสริมกิจการสภาเด็กและเยาวชนเขต

หน่วยนับ :ครั้ง

เป้าหมาย :1.00

ผลงาน :0.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ครั้ง)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ประกาศรับสมัครอาสาสมัครฯและอยู่ระหว่างดำเนินการสอบสัมภาษณ์

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จัดกิจกรรมประชุมกรรมการสมาชิกสภาเด็กและเยาวชน ในวันที่ 25 มกราคม 2563 วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 และวันที่ 14 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุมเขตพระนคร และประกาศรับสมัครอาสาสมัครฯ รอบที่ 3

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

งดการประชุมตามประกาศฯของสำนักงานเขตพระนคร ตั้งแต่วันที่ 23 มีนาคม 2563 จนถึงปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการสภาเด็กและเยาวชนจำนวน 3 ครั้ง ในวันที่ 25 มกราคม 2563 วันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 และวันที่ 14 มีนาคม 2563 แต่ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ทำให้ต้องยกเลิกโครงการ และส่งคืนเงินงบประมาณ

** สรุปผลการดำเนินงาน **

๗.๒ - การบริหารแผนและประเมินผล

(21) ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย
[มิติที่ 1 : ]

๗.๒.๑ กรุงเทพมหานครมีระบบการติดตามและรายงานความก้าวหน้าผลการดำาเนินงานตามแผนพัฒนากรุงเทพ
ร้อยละของโครงการที่เป็นงานประจำของหน่วยงานที่ดำเนินการสำเร็จตามเป้าหมาย

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
25.00

100 / 100
2
50.00

100 / 100
3
75.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

จำนวนโครงการทั้งหมด 49 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 49 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

จำนวนโครงการทั้งหมด 49 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 49 โครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

จำนวนโครงการทั้งหมด 49 โครงการ ดำเนินการแล้วเสร็จ 30 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 6 โครงการ และยกเลิกโครงการ 13 โครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

จำนวนโครงการทั้งหมด 49 โครงการ ดำเนินการแล้วเสร็จ 30 โครงการ อยู่ระหว่างดำเนินการ 6 โครงการ และยกเลิกโครงการ 13 โครงการ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส COVID-19 และหนังสือสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร ด่วนที่สุด ที่ กท 0902/00555 ลงวันที่ 23 มีนาคม 2563 เรื่องแนวทางการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2563 จากผลกระทบกับรายได้ของกรุงเทพมหานคร

** สรุปผลการดำเนินงาน **

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

๗.๔ - การคลังและงบประมาณ

(22) 7.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
7.1 ร้อยละความสำเร็จของการแจ้งประเมินภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :100.00

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
98.77

100 / 100
2
93.36

100 / 100
3
100.00

100 / 100
4
100.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

มีการแจ้งประเมินรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภ.ด.ส. 7 จำนวน 7,900 กรรมสิทธิ์ (จำนวนแปลง) และรายการห้องชุด ภ.ด.ส. 8 จำนวน 447 กรรมสิทธิ์ (จำนวนห้อง) รวม 8,347 กรรมสิทธิ์ จำนวน 4,742 ราย (ดำเนินการแจ้งประเมินภาษีครบทุกราย และทุกกรรมสิทธิ์)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

มีการแจ้งประเมินรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภ.ด.ส. 7 จำนวน 7,900 กรรมสิทธิ์ (จำนวนแปลง) และรายการห้องชุด ภ.ด.ส. 8 จำนวน 447 กรรมสิทธิ์ (จำนวนห้อง) รวม 8,347 กรรมสิทธิ์ จำนวน 4,742 ราย (ดำเนินการแจ้งประเมินภาษีครบทุกราย และทุกกรรมสิทธิ์)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

มีการแจ้งประเมินรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภ.ด.ส. 7 จำนวน 7,900 กรรมสิทธิ์ (จำนวนแปลง) และรายการห้องชุด ภ.ด.ส. 8 จำนวน 447 กรรมสิทธิ์ (จำนวนห้อง) รวม 8,347 กรรมสิทธิ์ จำนวน 4,742 ราย (ดำเนินการแจ้งประเมินภาษีครบทุกราย และทุกกรรมสิทธิ์)

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

มีการแจ้งประเมินรายการที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภ.ด.ส. 7 จำนวน 7,900 กรรมสิทธิ์ (จำนวนแปลง) และรายการห้องชุด ภ.ด.ส. 8 จำนวน 447 กรรมสิทธิ์ (จำนวนห้อง) รวม 8,347 กรรมสิทธิ์ จำนวน 4,742 ราย (ดำเนินการแจ้งประเมินภาษีครบทุกราย และทุกกรรมสิทธิ์)

** สรุปผลการดำเนินงาน **

(23) 7.2 ร้อยละของการบังคับภาษี
[มิติที่ 1 : ตัวชี้วัดเจรจา]

๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ
7.2 ร้อยละของการบังคับภาษี

หน่วยนับ :ร้อยละ

เป้าหมาย :100.00

ผลงาน :0.00


ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ร้อยละ)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
0.00

100 / 100
2
0.00

100 / 100
3
0.00

100 / 100
4
0.00

100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

อยู่ในขั้นตอนการอนุมัติกิจกรรมฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

อยู่ในขั้นตอนการอนุมัติกิจกรรมฯ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

อยูู่ในขั้นตอนการอนุมัติโครงการ

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

อยู่ระหว่างขั้นตอนการขยายกำหนดเวลาดำเนินการตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 2562 ซึ่งผลจากการขยายกำหนดเวลาดังกล่าว ตามข้อ 3 จึงเป็นเหตุให้ไม่สามารถดำเนินการภายในระยะเวลาตามกระบวนการบังคับภาษีที่กฎหมายภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างและตัวชี้วัดกำหนดได้

** สรุปผลการดำเนินงาน **