๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :0.00 |
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างการประสานขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน
1.สำนักงานการพัฒนาชุมชนได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่ออบรมให้ความรู้ ในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ ให้กับกรรมการชุมชนดำเนินการจำนวน 15 รุ่น กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 985 ชุมชน และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน จาก 50 เขต รวมทั้งสิ้น 2,250 คน ขณะนี้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 7 รุ่น อบรมกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 1,050 คน จาก 19 เขต 2.สำนักงานการพัฒนาชุมชน ได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการประกวด To Be Number One ในชุมชนกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 6 โรงเรียนฝึกอาชีพ ดินแดง 1 โดยมีฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ทั้ง 50 เขต เข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้ชี้แจงเนื้อหาการทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ รวมทั้งแจ้งให้สำนักงานเขตดำเนินการจัดส่ง แผนพัฒนาชุมชน โครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการจัดการน้ำ และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานเขตที่มีโครงการแผนพัฒนาชุมชนที่จัดทำโดยชุมชนบรรจุไว้ตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัดภายในเดือน สิงหาคม 2563 ทั้งนี้อยู่ระหว่างการจัดทำหนังสือประสานสำนักงานเขตเพื่อดำเนินการต่อไป
มีการชะลอการจัดอบรมตามโครงการฯ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
1. ดำเนินการจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานแบบพักค้าง 2 วัน 1 คืน ณ จังหวัดกาญจนบุรีให้กับกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่เขตจำนวน 15 รุ่น ดังนี้ -รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 1 – 2 ก.พ.63 -รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 8 – 9 ก.พ.63 -รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 15 – 16 ก.พ.63 -รุ่นที่ 4 เมื่อวันที่ 22 – 23 ก.พ.63 -รุ่นที่ 5 เมื่อวันที่ 29 ก.พ. – 1 มี.ค.63 -รุ่นที่ 6 เมื่อวันที่ 7 – 8 มี.ค.63 -รุ่นที่ 7 เมื่อวันที่ 14 – 15 มี.ค.63 -รุ่นที่ 8 เมื่อวันที่ 11 – 12 ก.ค.63 -รุ่นที่ 9 เมื่อวันที่ 18 – 19 ก.ค.63 -รุ่นที่ 10 เมื่อวันที่ 25 – 26 ก.ค.63 -รุ่นที่ 11 เมื่อวันที่ 1 – 2 ส.ค.63 -รุ่นที่ 12 เมื่อวันที่ 8 – 9 ส.ค.63 -รุ่นที่ 13 เมื่อวันที่ 15 – 16 ส.ค.63 -รุ่นที่ 14 เมื่อวันที่ 22 – 23 ส.ค.63 -รุ่นที่ 15 เมื่อวันที่ 29 – 30 ส.ค.63 2. สำนักพัฒนาสังคมมีหนังสือ ที่ กท 1503/1857 ลงวันที่ 24 ก.ค.63 เรื่อง ขอความร่วมมือสำนักงาน เขตจัดส่งเอกสารประกอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2563 โดยให้ดำเนินการจัดส่งภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2563 ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการจัดส่งเอกสารดังกล่าว 3. จำนวนสำนักงานเขตที่มีชุมชนต้นแบบฯ (อย่างน้อยสำนักงานเขตละ 3 ชุมชน) มีจำนวน 50 สำนักงานเขต จากจำนวนสำนักงานเขตทั้งหมด 50
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :75.00 ผลงาน :81.83 |
1.จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 816,053 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,020,917 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 79.93
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 821,170 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (821,170 / 1,020,917)x100 = 80.43%
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 830,419 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (830,419 / 1,020,917)x100 = 81.34%
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีจำนวน 835,373 คน 2. จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด มีจำนวน 1,020,917 คน
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :75.00 ผลงาน :81.83 |
1.จำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 816,053 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,020,917 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 79.93
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 821,170 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (821,170 / 1,020,917)x100 = 80.43%
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร และได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุในปีงบประมาณ พ.ศ.2563 จำนวน 830,419 คน 2.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎร์ของกรุงเทพมหานคร มีจำนวน 1,020,917 คน (830,419 / 1,020,917)x100 = 81.34%
1.จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครและได้รับการจัดสรรเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563 มีจำนวน 835,373 คน 2. จำนวนผู้สูงอายุที่มีชื่อในทะเบียนราษฎรกรุงเทพมหานครทั้งหมด มีจำนวน 1,020,917 คน
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้บริการอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม -31 ธันวาคม 2562 จำนวน 128 ราย 2.บ้านพักฉุกเฉินของศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 90 ราย 3.รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการด้านที่อยู่อาศัย จำนวน 218 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้การอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มี.ค.63 จำนวน 130 ราย 2.ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มี.ค.63 จำนวน 90 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการด้านที่อยู่อาศัย จำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้การอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มิ.ย.63 จำนวน 130 ราย 2.ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - มี.ค.63 จำนวน 90 ราย ปัจจุบันศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงและหน่วยบริการทางสังคมผู้สูงอายุห้วยขวางปิดบริการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 25563-ปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ตามประกาศสำนักพัฒนาสังคม ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 และประกาศสำนักพัฒนาสังคม ลงวันที่ 15 เมษายน 2563)
1. จำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องการความช่วยเหลือด้านสวัสดิการที่อยู่อาศัย มีดังนี้ - สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค 2 จำนวน 126 ราย - ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง จำนวน 90 ราย 2. จำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ได้รับการจัดสวัสดิการที่อยู่อาศัย มีดังนี้ - สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค 2 จำนวน 126 ราย - ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง จำนวน 90 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องการความช่วยเหลือทั้งหมด 116 ราย และได้รับการจัดสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัยทั้งหมดจำนวน 116 ราย
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้บริการอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม -31 ธันวาคม 2562 จำนวน 128 ราย 2.บ้านพักฉุกเฉินของศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม - 31 ธันวาคม 2562 จำนวน 90 ราย 3.รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการด้านที่อยู่อาศัย จำนวน 218 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้การอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มี.ค.63 จำนวน 130 ราย 2.ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มี.ค.63 จำนวน 90 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุที่ได้รับบริการด้านที่อยู่อาศัย จำนวน 220 คน คิดเป็นร้อยละ 100
1.บ้านผู้สูงอายุบางแค 2 ให้การอุปการะผู้สูงอายุ ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - 15 มิ.ย.63 จำนวน 130 ราย 2.ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง ให้บริการแก่ผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการบ้านพักฉุกเฉิน ตั้งแต่ 1 ต.ค.62 - มี.ค.63 จำนวน 90 ราย ปัจจุบันศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดงและหน่วยบริการทางสังคมผู้สูงอายุห้วยขวางปิดบริการชั่วคราว ตั้งแต่วันที่ 11 มีนาคม 25563-ปัจจุบัน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 (ตามประกาศสำนักพัฒนาสังคม ลงวันที่ 10 มีนาคม 2563 และประกาศสำนักพัฒนาสังคม ลงวันที่ 15 เมษายน 2563)
1. จำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องการความช่วยเหลือด้านสวัสดิการที่อยู่อาศัย มีดังนี้ - สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค 2 จำนวน 126 ราย - ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง จำนวน 90 ราย 2. จำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ได้รับการจัดสวัสดิการที่อยู่อาศัย มีดังนี้ - สถานสงเคราะห์คนชราบ้านบางแค 2 จำนวน 126 ราย - ศูนย์บริการผู้สูงอายุดินแดง จำนวน 90 ราย รวมจำนวนผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสที่ต้องการความช่วยเหลือทั้งหมด 116 ราย และได้รับการจัดสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัยทั้งหมดจำนวน 116 ราย
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :31.59 |
จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องในศูนย์ฝึกอาชีพสังกัดสำนักพัฒนาสังคม และเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด มีรายละเอียดดังนี้ 1.เดือน ตุลาคม 2562 จำนวน 3,484 คน 2.เดือน พฤศจิกายน 2562 จำนวน 629 คน รวม 4,113 คน จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมและมีงานทำอยู่ระหว่างการสำรวจข้อมูล
ดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 5 ศูนย์ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ดังนี้ 1.ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2.ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3.ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 6.ศูนย์ฝึกอาชีพพาราไดซ์ พาร์ค เขตประเวศ จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,786 คน อยู่ระหว่างการติดตามผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วมีงานทำ
ดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 6 ศูนย์ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ดังนี้ 1.ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2.ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3.ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 6.ศูนย์ฝึกอาชีพพาราไดซ์ พาร์ค เขตประเวศ จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,786 คน อยู่ระหว่างการติดตามผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วมีงานทำ ในเดือน เมษายน - มิถุนายน 2563 ปิดการเรียนการสอนด้วยเหตุพิเศษ เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 กำหนดเปิดเรียนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563
1. สำนักพัฒนาสังคมดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้น เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 5 ศูนย์ 1. ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2. ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3. ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4. ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5. ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 2. ผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนทั้งสิ้น 3,802 คน และได้รับการติดตามผลแล้วมีงานทำหรือมีรายได้จากการทำงาน 1,201 คน
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :30.00 ผลงาน :31.59 |
จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องในศูนย์ฝึกอาชีพสังกัดสำนักพัฒนาสังคม และเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด มีรายละเอียดดังนี้ 1.เดือน ตุลาคม 2562 จำนวน 3,484 คน 2.เดือน พฤศจิกายน 2562 จำนวน 629 คน รวม 4,113 คน จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมและมีงานทำอยู่ระหว่างการสำรวจข้อมูล
ดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 5 ศูนย์ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ดังนี้ 1.ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2.ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3.ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 6.ศูนย์ฝึกอาชีพพาราไดซ์ พาร์ค เขตประเวศ จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,786 คน อยู่ระหว่างการติดตามผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วมีงานทำ
ดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้นเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 6 ศูนย์ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 - มีนาคม 2563 ดังนี้ 1.ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2.ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3.ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5.ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 6.ศูนย์ฝึกอาชีพพาราไดซ์ พาร์ค เขตประเวศ จำนวนผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด 2,786 คน อยู่ระหว่างการติดตามผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมแล้วมีงานทำ ในเดือน เมษายน - มิถุนายน 2563 ปิดการเรียนการสอนด้วยเหตุพิเศษ เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 กำหนดเปิดเรียนวันที่ 1 กรกฎาคม 2563
1. สำนักพัฒนาสังคมดำเนินการฝึกอาชีพระยะสั้น เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากให้กับประชาชนทั่วไปทุกช่วงวัย ณ ศูนย์ฝึกอาชีพสัญจร จำนวน 5 ศูนย์ 1. ศูนย์ฝึกอาชีพศูนย์การค้าไอที สแควร์ เขตหลักสี่ 2. ศูนย์ฝึกอาชีพอาคารโกลด์ มาร์เก็ต (ตลาดประชานิเวศน์ 1) 3. ศูนย์ฝึกอาชีพตลาดนัดธนบุรี (ตลาดสนามหลวง 2) เขตทวีวัฒนา 4. ศูนย์ฝึกอาชีพวัดด่าน (ถนนพระราม 3) เขตยานนาวา 5. ศูนย์ฝึกอาชีพวัดรางบัว (ซอยเพชรเกษม 33) เขตภาษีเจริญ 2. ผู้สูงอายุที่ผ่านการฝึกอบรมวิชาชีพในวิชาหลักสูตรต่อเนื่องและเรียนจบหลักสูตรตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวนทั้งสิ้น 3,802 คน และได้รับการติดตามผลแล้วมีงานทำหรือมีรายได้จากการทำงาน 1,201 คน
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :90.00 |
กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และพบผู้ติดเชื้อมาขึ้น ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกืจกรรม จึงขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักพัฒนาสังคมเห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจึงของดการจัดกิจกรรมและได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป
1. สำนักพัฒนาสังคมกำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ “ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ในเดือนเมษายน 2563 แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) สำนักพัฒนาสังคม เห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้า ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ“ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป 2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการจดทะเบียนภูมิปัญญาและได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญาฯ จำนวน 45 คน จากทั้งหมด 50 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 90 3. ผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมีจำนวนทั้งหมด 11,904 คน จำนวนผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจำนวน 5,715 คน โดยแบ่งการถ่ายทอดออกเป็น - ไปถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับบุคคลอื่นต่อ - เป็นแนวทางไปประกอบอาชีพ - ผ่อนคลายจิตใจ - งานอดิเรก - มีรายได้เสริม - ประกอบอาชีพ
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :50.00 ผลงาน :90.00 |
กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และพบผู้ติดเชื้อมาขึ้น ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกืจกรรม จึงขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 สำนักพัฒนาสังคมเห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจึงของดการจัดกิจกรรมและได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป
1. สำนักพัฒนาสังคมกำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ “ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ในเดือนเมษายน 2563 แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) สำนักพัฒนาสังคม เห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้า ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ“ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป 2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการจดทะเบียนภูมิปัญญาและได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญาฯ จำนวน 45 คน จากทั้งหมด 50 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 90 3. ผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมีจำนวนทั้งหมด 11,904 คน จำนวนผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจำนวน 5,715 คน โดยแบ่งการถ่ายทอดออกเป็น - ไปถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับบุคคลอื่นต่อ - เป็นแนวทางไปประกอบอาชีพ - ผ่อนคลายจิตใจ - งานอดิเรก - มีรายได้เสริม - ประกอบอาชีพ
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :48.01 |
การจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" กำหนดจัดงานในเดือนเมษายน 2563
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และพบผู้ติดเชื้อมาขึ้น ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกืจกรรม จึงขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น
เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สำนักพัฒนาสังคมเห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป
1. สำนักพัฒนาสังคมกำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ “ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ในเดือนเมษายน 2563 แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) สำนักพัฒนาสังคม เห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้า ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ“ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป 2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการจดทะเบียนภูมิปัญญาและได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญาฯ จำนวน 45 คน จากทั้งหมด 50 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 90 3. ผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมีจำนวนทั้งหมด 11,904 คน จำนวนผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจำนวน 5,715 คน โดยแบ่งการถ่ายทอดออกเป็น - ไปถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับบุคคลอื่นต่อ - เป็นแนวทางไปประกอบอาชีพ - ผ่อนคลายจิตใจ - งานอดิเรก - มีรายได้เสริม - ประกอบอาชีพ
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :48.01 |
การจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" กำหนดจัดงานในเดือนเมษายน 2563
1.กำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ในเดือนเมษายน 2563 2.เนื่องจากประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid-19) ลงวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2563 ที่แพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว และพบผู้ติดเชื้อมาขึ้น ดังนั้น เพื่อความปลอดภัยของ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกืจกรรม จึงขอเลื่อนการจัดกิจกรรมออกไปจนกว่าสถานการณ์จะดีขึ้น
เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) สำนักพัฒนาสังคมเห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมจึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ "ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร" ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป
1. สำนักพัฒนาสังคมกำหนดจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ “ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ในเดือนเมษายน 2563 แต่เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID – 19) สำนักพัฒนาสังคม เห็นว่าเพื่อความปลอดภัยของกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรม จึงของดการจัดกิจกรรม และได้ขอความร่วมมือสำนักงานเขตแจ้งเจ้า ของภูมิปัญญาผู้สูงอายุที่สำนักงานเขตคัดเลือกมาแล้วในปีงบประมาณ 2563 สำนักพัฒนาสังคมจะดำเนินการมอบโล่ประกาศเกียรติคุณให้แก่เจ้าของภูมิปัญญาผู้สูงอายุในการจัดกิจกรรมการเชิดชูเกียรติ“ภูมิปัญญาผู้สูงอายุกรุงเทพมหานคร”ปีงบประมาณ 2564 ต่อไป 2. ผู้สูงอายุที่ได้รับการจดทะเบียนภูมิปัญญาและได้ทำงานถ่ายทอดภูมิปัญญาฯ จำนวน 45 คน จากทั้งหมด 50 คน ผลการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 90 3. ผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมีจำนวนทั้งหมด 11,904 คน จำนวนผู้ที่ได้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน มีจำนวน 5,715 คน โดยแบ่งการถ่ายทอดออกเป็น - ไปถ่ายทอดภูมิปัญญาให้กับบุคคลอื่นต่อ - เป็นแนวทางไปประกอบอาชีพ - ผ่อนคลายจิตใจ - งานอดิเรก - มีรายได้เสริม - ประกอบอาชีพ
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :91.75 |
1.สำนักพัฒนาสังคม ได้ขออนุมัติโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563 รายการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครไปยังสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร จำนวน 26 เขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท ขณะนี้อยู่ระหว่างสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร พิจารณาดำเนินการโอนงบประมาณไปยังสำนักงานเขต 2.กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้ดำเนินการประสานวิทยากรและสถานที่ในการจัดกิจกรรมและทำหนังสือถึงสำนักงานเขตเพื่อขอรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1.สำนักพัฒนาสังคมให้การสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
1.สำนักพัฒนาสังคมให้การสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ -รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
. สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563 และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม 3. จำนวนศูนย์พัฒนาเด็กก่อน วัยเรียนกรุงเทพมหานคร จำนวน 291 ศูนย์ เด็กจำนวน 19,086 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต 4. จำนวนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรุงเทพมหานครระดับดีขึ้นไปตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย มีจำนวน 267 ศูนย์
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :91.75 |
1.สำนักพัฒนาสังคม ได้ขออนุมัติโอนงบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.ศ.2563 รายการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครไปยังสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร จำนวน 26 เขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท ขณะนี้อยู่ระหว่างสำนักงบประมาณกรุงเทพมหานคร พิจารณาดำเนินการโอนงบประมาณไปยังสำนักงานเขต 2.กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้ดำเนินการประสานวิทยากรและสถานที่ในการจัดกิจกรรมและทำหนังสือถึงสำนักงานเขตเพื่อขอรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
1.สำนักพัฒนาสังคมให้การสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
1.สำนักพัฒนาสังคมให้การสนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ -รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
. สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563 และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม 3. จำนวนศูนย์พัฒนาเด็กก่อน วัยเรียนกรุงเทพมหานคร จำนวน 291 ศูนย์ เด็กจำนวน 19,086 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต 4. จำนวนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานครที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรุงเทพมหานครระดับดีขึ้นไปตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย มีจำนวน 267 ศูนย์
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :93.54 |
กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้ดำเนินการประสานวิทยากรและสถานที่ในการจัดกิจกรรมและทำหนังสือถึงสำนักงานเขตเพื่อขอรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ -รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
1. สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563 และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม 3. จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการสมวัยมีจำนวนทั้งหมด 19,086 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต ตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย 4. จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการตรวจประเมินและพบว่ามีพัฒนาการสมวัย จำนวนทั้งหมด 17,853 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต ตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย
๓.๑.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการดูแลผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจร | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :85.00 ผลงาน :93.54 |
กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ได้ดำเนินการประสานวิทยากรและสถานที่ในการจัดกิจกรรมและทำหนังสือถึงสำนักงานเขตเพื่อขอรายชื่อผู้เข้าร่วมกิจกรรม
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ การดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ อาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก จำนวน 3 รุ่น ได้แก่ -รุ่นที่ 1 วันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 2 วันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 -รุ่นที่ 3 วันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563
1. สนับสนุนศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร เพื่อให้ เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานกรุงเทพมหานคร และศูนย์เด็กเล็กแห่งชาติ ในพื้นที่ 26 สำนักงานเขต เป็นเงิน 5,707,882.- บาท 2. การอบรมเชิงปฏิบัติการการดูแลเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จำนวน 3 รุ่น รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 11 - 12 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 18 - 19 กุมภาพันธ์ 2563 รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 25 - 26 กุมภาพันธ์ 2563 และรายงานผลการดำเนินกิจกรรม 3. จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการตรวจประเมินพัฒนาการสมวัยมีจำนวนทั้งหมด 19,086 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต ตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย 4. จำนวนเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร ที่ได้รับการตรวจประเมินและพบว่ามีพัฒนาการสมวัย จำนวนทั้งหมด 17,853 คน ในพื้นที่ 45 สำนักงานเขต ตามแบบประเมินมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร และแบบประเมินเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนกรุงเทพมหานคร มีพัฒนาการสมวัย
๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ระดับ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
อยู่ระหว่างการประสานขอข้อมูลกลุ่มเป้าหมายจากกรมการขนส่งทางบก
ปีงบประมาณ 2563 กำหนดกลุ่มเป้าหมายจำนวน 3 กลุ่มเขต ได้แก่ 1.กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวนวินทั้งหมด 690 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 13,327 คน ประกอบด้วย - เขตทุ่งครุ จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางแค จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางขุนเทียน จำนวนวิน 117 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,248 คน - เขตบางบอน จำนวนวิน 108 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,476 คน - เขตภาษีเจริญ จำนวนวิน 94 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,661 คน - เขตราษฎร์บูรณะ จำนวนวิน 44 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,746 คน - เขตหนองแขม จำนวนวิน 129 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,655 คน 2.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวนวินทั้งหมด 862 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 14,087 คน ประกอบด้วย - เขตคลองสามวา จำนวนวิน 88 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 860 คน - เขตคันนายาว จำนวนวิน 52 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 982 คน - เขตบางกะปิ จำนวนวิน 120 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,583 คน - เขตบึงกุ่ม จำนวนวิน 54 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,216 คน - เขตประเวศ จำนวนวิน 135 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,021 คน - เขตมีนบุรี จำนวนวิน 124 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,802 คน - เขตลาดกระบัง จำนวนวิน 182 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,319 คน - เขตสะพานสูง จำนวนวิน 27 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 602 คน - เขตหนองจอก จำนวนวิน 80 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 702 คน 3.กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวนวินทั้งหมด 1,287 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 21,428 คน ประกอบด้วย - เขตวัฒนา จำนวนวิน 169 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,018 คน - เขตบางคอแหลม จำนวนวิน 96 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,773 คน - เขตบางนา จำนวนวิน 121 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,638 คน - เขตบางรัก จำนวนวิน 139 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,209 คน - เขตปทุมวัน จำนวนวิน 147 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,896 คน - เขตพระโขนง จำนวนวิน 45 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,320 คน - เขตยานนาวา จำนวนวิน 122 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,392 คน - เขตคลองเตย จำนวนวิน 187 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,934 คน - เขตสวนหลวง จำนวนวิน 105 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,168 คน - เขตสาทร จำนวนวิน 156 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,080 คน
ปีงบประมาณ 2563 กำหนดกลุ่มเป้าหมายจำนวน 3 กลุ่มเขต ได้แก่ 1.กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวนวินทั้งหมด 690 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 13,327 คน ประกอบด้วย - เขตทุ่งครุ จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางแค จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางขุนเทียน จำนวนวิน 117 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,248 คน - เขตบางบอน จำนวนวิน 108 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,476 คน - เขตภาษีเจริญ จำนวนวิน 94 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,661 คน - เขตราษฎร์บูรณะ จำนวนวิน 44 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,746 คน - เขตหนองแขม จำนวนวิน 129 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,655 คน 2.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวนวินทั้งหมด 862 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 14,087 คน ประกอบด้วย - เขตคลองสามวา จำนวนวิน 88 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 860 คน - เขตคันนายาว จำนวนวิน 52 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 982 คน - เขตบางกะปิ จำนวนวิน 120 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,583 คน - เขตบึงกุ่ม จำนวนวิน 54 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,216 คน - เขตประเวศ จำนวนวิน 135 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,021 คน - เขตมีนบุรี จำนวนวิน 124 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,802 คน - เขตลาดกระบัง จำนวนวิน 182 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,319 คน - เขตสะพานสูง จำนวนวิน 27 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 602 คน - เขตหนองจอก จำนวนวิน 80 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 702 คน 3.กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวนวินทั้งหมด 1,287 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 21,428 คน ประกอบด้วย - เขตวัฒนา จำนวนวิน 169 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,018 คน - เขตบางคอแหลม จำนวนวิน 96 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,773 คน - เขตบางนา จำนวนวิน 121 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,638 คน - เขตบางรัก จำนวนวิน 139 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,209 คน - เขตปทุมวัน จำนวนวิน 147 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,896 คน - เขตพระโขนง จำนวนวิน 45 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,320 คน - เขตยานนาวา จำนวนวิน 122 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,392 คน - เขตคลองเตย จำนวนวิน 187 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,934 คน - เขตสวนหลวง จำนวนวิน 105 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,168 คน - เขตสาทร จำนวนวิน 156 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,080 คน
ปีงบประมาณ 2563 กำหนดกลุ่มเป้าหมายจำนวน 3 กลุ่มเขต ได้แก่ 1.กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวนวินทั้งหมด 690 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 13,327 คน ประกอบด้วย - เขตทุ่งครุ จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางแค จำนวนวิน 63 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,314 คน - เขตบางขุนเทียน จำนวนวิน 117 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,248 คน - เขตบางบอน จำนวนวิน 108 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,476 คน - เขตภาษีเจริญ จำนวนวิน 94 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,661 คน - เขตราษฎร์บูรณะ จำนวนวิน 44 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,746 คน - เขตหนองแขม จำนวนวิน 129 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,655 คน 2.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวนวินทั้งหมด 862 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 14,087 คน ประกอบด้วย - เขตคลองสามวา จำนวนวิน 88 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 860 คน - เขตคันนายาว จำนวนวิน 52 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 982 คน - เขตบางกะปิ จำนวนวิน 120 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,583 คน - เขตบึงกุ่ม จำนวนวิน 54 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,216 คน - เขตประเวศ จำนวนวิน 135 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,021 คน - เขตมีนบุรี จำนวนวิน 124 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,802 คน - เขตลาดกระบัง จำนวนวิน 182 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,319 คน - เขตสะพานสูง จำนวนวิน 27 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 602 คน - เขตหนองจอก จำนวนวิน 80 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 702 คน 3.กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวนวินทั้งหมด 1,287 วิน จำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 21,428 คน ประกอบด้วย - เขตวัฒนา จำนวนวิน 169 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 3,018 คน - เขตบางคอแหลม จำนวนวิน 96 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,773 คน - เขตบางนา จำนวนวิน 121 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,638 คน - เขตบางรัก จำนวนวิน 139 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,209 คน - เขตปทุมวัน จำนวนวิน 147 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,896 คน - เขตพระโขนง จำนวนวิน 45 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 1,320 คน - เขตยานนาวา จำนวนวิน 122 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,392 คน - เขตคลองเตย จำนวนวิน 187 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,934 คน - เขตสวนหลวง จำนวนวิน 105 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,168 คน - เขตสาทร จำนวนวิน 156 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 2,080 คน
๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างการศึกษาโครงการกำหนดดำเนินการ 3 กลุ่มเขต ดังนี้ 1.กลุ่มกรุงเทพใต้ 2.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก 3.กลุ่มกรุงธนใต้
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักพัฒนาสังคมมีกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่มเขต ประกอบด้วย 1.กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน 7 เขต 2.กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 10 เขต 3.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวน 9 เขต ขณะนี้อยู่ระหว่างให้แต่ละกลุ่มเขตรวจสอบรายชื่อผู้ขับขี่รถจักรยานยนต์รับจ้าง
ปีงบประมาณ พ.ศ.2563 สำนักพัฒนาสังคมมีกลุ่มเป้าหมาย 3 กลุ่มเขต ประกอบด้วย 1.กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน 7 เขต 2.กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 10 เขต 3.กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวน 9 เขต ขณะนี้อยู่ระหว่างการสรุปผลข้อมูลจากการดำเนินโครงการ
1. ข้อมูลของแรงงานนอกระบบ (วินจักรยานยนต์รับจ้างสาธารณะ) ในพื้นที่ 3 กลุ่มเขต ได้แก่ 1. กลุ่มกรุงเทพตะวันออก จำนวน 9 เขต ได้แก่ เขตคลองสามวา บางกะปิ บึงกุ่ม ประเวศ มีนบุรี ลาดกระบัง สะพานสูง และหนองจอก มีจำนวน 862 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 14,087 คน 2. กลุ่มกรุงเทพใต้ จำนวน 10 เขต ได้แก่ เขตวัฒนา บางคอแหลม บางนา บางรัก ปทุมวัน พระโขนง ยานนาวา คลองเตย สวนหลวง และสาทร จำนวน 1,287 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 21,428 คน 3. กลุ่มกรุงธนใต้ จำนวน 7 เขต ได้แก่ เขตทุ่งครุ บางแค บางขุนเทียน บางบอน ภาษีเจริญ ราษฎร์บูรณะ และหนองแขม จำนวน 690 วิน จำนวนผู้ขับขี่ 13,327 คน รวมจำนวนวินทั้งหมด 2,839 วิน รวมจำนวนผู้ขับขี่ทั้งหมด 48,842 คน 2. สำนักพัฒนาสังคมได้ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้แรงงานนอกระบบได้รับทราบสวัสดิการและส่งเสริมสนับสนุนการเข้าถึงแหล่งเงินทุน โดยใช้ช่องทาง QR CODE ของสำนักพัฒนาสังคมเป็นหลักในการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูลสู่กลุ่มเป้าหมายได้ง่ายจำนวน 3 กลุ่มเขต รวมทั้งสิ้น 2,839 วิน
๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :12.17 |
อยู่ระหว่างการดำเนินงาน โดยกำหนดเข้าร่วมกิจกรรมอบรมสัมมนากับสำนักงานการส่งเสริมอาชีพเพื่อให้ความรู้เรื่องการวางแผนทางการเงินแก่ผู้เข้ารับการอบรม
อยู่ระหว่างดำเนินการจัดเตรียมข้อมูลและวัสดุอุปกรณ์ เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมอบรมสัมมนากับสำนักงานส่งเสริมอาชีพ เพื่อให้ความรู้เรื่องการวางแผนทางการเงินแก่ผู้เข้ารับการอบรมฯ
มีการชะลอโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการเงินและการวางแผนทางการเงิน มีรายละเอียดดังนี้ 1. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมด 1,964 คน 2. ผู้เข้าร่วมโครงการฯ ที่ได้รับความรู้และมีการวางแผนทางการเงิน จำนวน 239 คน
๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :82.03 |
จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพื้นที่ภาคเรียนที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 เพื่อรับรองหลักสูตรที่จะเปิดสอนภาคเรียนที่ 3/2561
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 และอยู่ระหว่างการจัดเก็บข้อมูลของผู้เข้ารับการอบรมฯ ประเมินผลหลักสูตรที่เปิดสอนในระดับดีขึ้นไป
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 38 หลักสูตร 2.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) จำนวน 25 หลักสูตร 3.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) จำนวน 28 หลักสูตร 4.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ) จำนวน 32 หลักสูตร 5.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุปถัมภ์) จำนวน 28 หลักสูตร 6.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) จำนวน 19 หลักสูตร 7.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ม้วน บำรุงศิลป์) จำนวน 26 หลักสูตร 8.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) จำนวน 30 หลักสูตร 9.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหาสน์ อุปถัมภ์) จำนวน 25 หลักสูตร กำหนดเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1/2563 วันที่ 1 กรกฎาคม 2563 ขณะนี้อยู่ระหว่างการติดตามประเมินผลของหลักสูตร
จำนวนผู้เข้ารับการอบรมฯ ประเมินผลหลักสูตรที่เปิดสอนในระดับดีขึ้นไป มีจำนวน 5,390 คน จากจำนวนผู้เข้ารับการอบรมฯ ทั้งหมด 6,571 คน
๓.๒.๑ ผู้ที่อยู่ในภาคเศรษฐกิจนอกระบบและแรงงานนอกระบบเข้าถึงสวัสดิการและแหล่งเงินทุนอย่าง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :75.00 ผลงาน :84.21 |
ขณะนี้อยู่ระหว่างการเปิดภาคเรียนที่ 2/2563
ในเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 ปิดการเรียนการสอนด้วยเหตุพิเศษ เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กำหนดเปิดเรียน วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง เปิดสอนวิชาชีพระยะสั้น ให้กับประชาชนทั่วไป โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 มีรายละเอียดดังนี้ 1. ภาคเรียนที่ 2/2562 (ระหว่าง 1 กันยายน - 3 ธันวาคม 2562) มีผู้สมัคร 7,701 คน มีผู้สำเร็จการศึกษา 5,670 คน และมีผู้ที่นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม 4,844 คน 2. ภาคเรียนที่ 3/2562 (ระหว่าง 22 ธันวาคม 2562 - 17 มีนาคม 2563) มีผู้สมัคร 6,571 คน มีผู้สำเร็จการศึกษา 4,710 คน มีผู้ที่นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม 3,948 คน 3. ภาคเรียนที่ 1/2563 (ระหว่าง 1 กรกฎาคม - 25 สิงหาคม 2563) มีผู้สมัคร 2,578 คน มีผู้สำเร็จการศึกษา 2,020 คน และมีผู้ที่นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม 1,650 คน สรุป 1. มีผู้สมัครเรียน จำนวน 16,850 คน 2. มีผู้สำเร็จการศึกษา จำนวน 12,400 คน 3. มีผู้ที่นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพหรือสร้างรายได้เสริม จำนวน 10,442 คน
๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพื้นที่ภาคเรียนที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 เพื่อรับรองหลักสูตรที่จะเปิดสอนภาคเรียนที่ 3/2561
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 26 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 26 หลักสูตร 2.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 25 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 25 หลักสูตร 3.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 25 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 25 หลักสูตร 4.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บ่อนไก่) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 28 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 28 หลักสูตร 5.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 32 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 32 หลักสูตร 6.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุปถัมภ์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 23 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 23 หลักสูตร 7.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 16 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 16 หลักสูตร 8.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ม้วน บำรุงศิลป์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 21 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 21 หลักสูตร 9.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 32 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 32 หลักสูตร 10.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหาสน์ อุปถัมภ์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 22 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 22 หลักสูตร
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 38 หลักสูตร 2.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) จำนวน 25 หลักสูตร 3.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) จำนวน 28 หลักสูตร 4.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ) จำนวน 32 หลักสูตร 5.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุปถัมภ์) จำนวน 28 หลักสูตร 6.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) จำนวน 19 หลักสูตร 7.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ม้วน บำรุงศิลป์) จำนวน 26 หลักสูตร 8.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) จำนวน 30 หลักสูตร 9.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหาสน์ อุปถัมภ์) จำนวน 25 หลักสูตร กำหนดเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1/2563 วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
1. จำนวนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นที่เปิดสอนในโรงเรียนฝีกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง (ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ทั้งสิ้น 101 หลักสูตร ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพื้นที่ ทั้ง 101 หลักสูตร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 ซึ่งผ่านกระบวนการสำรวจความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน แต่ละพื้นที่ ทั้ง 101 หลักสูตรแล้ว
๓.๒.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในเรื่องแรงงาน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพื้นที่ภาคเรียนที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 เพื่อรับรองหลักสูตรที่จะเปิดสอนภาคเรียนที่ 3/2561
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 26 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 26 หลักสูตร 2.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 25 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 25 หลักสูตร 3.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 25 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 25 หลักสูตร 4.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บ่อนไก่) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 28 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 28 หลักสูตร 5.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 32 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 32 หลักสูตร 6.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุปถัมภ์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 23 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 23 หลักสูตร 7.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 16 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 16 หลักสูตร 8.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ม้วน บำรุงศิลป์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 21 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 21 หลักสูตร 9.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 32 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 32 หลักสูตร 10.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหาสน์ อุปถัมภ์) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 22 หลักสูตร และทำการเปิดสอนตามมติกรรมการฯ จำนวน 22 หลักสูตร
ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานในแต่ละพื้นที่ เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 มีรายละเอียดดังนี้ 1.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 1) มติคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรที่สอดคล้องกับความต้องการ จำนวน 38 หลักสูตร 2.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (บางรัก) จำนวน 25 หลักสูตร 3.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ดินแดง 2) จำนวน 28 หลักสูตร 4.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (อาทร สังขะวัฒนะ) จำนวน 32 หลักสูตร 5.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หลวงพ่อทวีศักดิ์ ชุตินธโร อุปถัมภ์) จำนวน 28 หลักสูตร 6.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (คลองเตย) จำนวน 19 หลักสูตร 7.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (ม้วน บำรุงศิลป์) จำนวน 26 หลักสูตร 8.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (หนองจอก) จำนวน 30 หลักสูตร 9.โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร (กาญจนสิงหาสน์ อุปถัมภ์) จำนวน 25 หลักสูตร กำหนดเปิดเรียนภาคเรียนที่ 1/2563 วันที่ 1 กรกฎาคม 2563
1. จำนวนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นที่เปิดสอนในโรงเรียนฝีกอาชีพกรุงเทพมหานคร 10 แห่ง (ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563) ทั้งสิ้น 101 หลักสูตร ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการอำนวยการและคณะกรรมการพิจารณาการเปิดสอนหลักสูตรระยะสั้นของโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในแต่ละพื้นที่ ทั้ง 101 หลักสูตร เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2562 ซึ่งผ่านกระบวนการสำรวจความต้องการของผู้เรียนและตลาดแรงงาน แต่ละพื้นที่ ทั้ง 101 หลักสูตรแล้ว
๓.๒.๒ คนกรุงเทพฯมีโอกาสได้รับการฝึกอาชีพตามความถนัด | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :93.37 |
กำหนดจัดทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในเดือนมีนาคม 2563 จำนวน 4 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างแต่งผมสตรี 2.ช่างซ่อมรถยนต์ 3.พนักงานนวดไทย 4.ผู้ประกอบอาหารไทย
จัดการทดสอบมาตรฐานฝึกมือแรงงานเดือน มีนาคม 2563 จำนวน 4 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 123 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 5-13 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 คน 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 20 คน ผ่าน 16 คน 4.สาขาช่างแต่งผมสตรี เลื่อนการทดสอบฯ ไม่่มีกำหนดเนื่องจากเกิดการระบาดของโรคติดเชื่้อไวรัสโควิด-19 รวมจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ 184 คน ผู้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงาน จำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 91.85
กำหนดจัดทดสอบมาตรฐานฝึกมือแรงงานระหว่างวันที่ 5-11 มีนาคม 2563 จำนวน 3 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 123 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 5-13 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 คน 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 20 คน ผ่าน 16 คน 4.สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 งดทดสอบเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 รวมเข้ารับการทดสอบทั้งสิ้น 181 คน ผ่านการทดสอบทั้งสิ้น 169 คน คิดเป็นร้อยละ 93.37
สำนักพัฒนาสังคม โดยโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ได้จัดทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (การทดสอบฝีมือ ความรู้ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานฝีมือแรงงาน) ให้กับผู้ที่จบการฝึกอบรมวิชาชีพจากโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ดำเนินการระหว่างวันที่ 5-19 มี.ค.63 ณ โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครที่เป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ประกอบด้วย 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ผู้เข้าทดสอบ 13 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ผู้เข้าทดสอบ 16 คน ผ่าน 16 คน รวมผู้เข้ารับการทดสอบทั้งหมด 181 คน ผ่านการทดสอบจำนวน 169 คน
๓.๒.๑ มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในเรื่องแรงงาน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :93.37 |
กำหนดจัดทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในเดือนมีนาคม 2563 จำนวน 4 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างแต่งผมสตรี 2.ช่างซ่อมรถยนต์ 3.พนักงานนวดไทย 4.ผู้ประกอบอาหารไทย
จัดการทดสอบมาตรฐานฝึกมือแรงงานเดือน มีนาคม 2563 จำนวน 4 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 123 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 5-13 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 คน 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 20 คน ผ่าน 16 คน 4.สาขาช่างแต่งผมสตรี เลื่อนการทดสอบฯ ไม่่มีกำหนดเนื่องจากเกิดการระบาดของโรคติดเชื่้อไวรัสโควิด-19 รวมจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ 184 คน ผู้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานฝีมือแรงงาน จำนวน 169 คน คิดเป็นร้อยละ 91.85
กำหนดจัดทดสอบมาตรฐานฝึกมือแรงงานระหว่างวันที่ 5-11 มีนาคม 2563 จำนวน 3 สาขาวิชาชีพ ดังนี้ 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 123 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ระหว่างวันที่ 5-13 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 คน 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ระหว่างวันที่ 9-11 มี.ค.63 ผู้เข้าทดสอบ 20 คน ผ่าน 16 คน 4.สาขาช่างแต่งผมสตรี ระดับ 1 งดทดสอบเนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโควิด 19 รวมเข้ารับการทดสอบทั้งสิ้น 181 คน ผ่านการทดสอบทั้งสิ้น 169 คน คิดเป็นร้อยละ 93.37
สำนักพัฒนาสังคม โดยโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ได้จัดทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน (การทดสอบฝีมือ ความรู้ความสามารถ และทัศนคติในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์กำหนดของมาตรฐานฝีมือแรงงาน) ให้กับผู้ที่จบการฝึกอบรมวิชาชีพจากโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ดำเนินการระหว่างวันที่ 5-19 มี.ค.63 ณ โรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานครที่เป็นศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ประกอบด้วย 1.ช่างซ่อมรถยนต์ ระดับ 1 ผู้เข้าทดสอบ 13 คน ผ่าน 10 คน 2.สาขาพนักงานนวดไทย ระดับ 1 ผู้เข้าทดสอบ 152 คน ผ่าน 143 3.สาขาผู้ประกอบการอาหารไทย ผู้เข้าทดสอบ 16 คน ผ่าน 16 คน รวมผู้เข้ารับการทดสอบทั้งหมด 181 คน ผ่านการทดสอบจำนวน 169 คน
๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างการขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน
1.สำนักงานการพัฒนาชุมชนได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่ออบรมให้ความรู้ ในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ ให้กับกรรมการชุมชนดำเนินการจำนวน 15 รุ่น กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 985 ชุมชน และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน จาก 50 เขต รวมทั้งสิ้น 2,250 คน ขณะนี้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 7 รุ่น อบรมกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 1,050 คน จาก 19 เขต 2.สำนักงานการพัฒนาชุมชน ได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการประกวด To Be Number One ในชุมชนกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 6 โรงเรียนฝึกอาชีพ ดินแดง 1 โดยมีฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ทั้ง 50 เขต เข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้ชี้แจงเนื้อหาการทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ รวมทั้งแจ้งให้สำนักงานเขตดำเนินการจัดส่ง แผนพัฒนาชุมชน โครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการจัดการน้ำ และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานเขตที่มีโครงการแผนพัฒนาชุมชนที่จัดทำโดยชุมชนบรรจุไว้ตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัดภายในเดือน สิงหาคม 2563 ทั้งนี้อยู่ระหว่างการจัดทำหนังสือประสานสำนักงานเขตเพื่อดำเนินการต่อไป
ชะลอการจัดอบรมตามโครงการฯ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
1. ดำเนินการจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานแบบพักค้าง 2 วัน 1 คืน ณ จังหวัดกาญจนบุรีให้กับกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่เขตจำนวน 15 รุ่น ดังนี้ -รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 1 – 2 ก.พ.63 -รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 8 – 9 ก.พ.63 -รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 15 – 16 ก.พ.63 -รุ่นที่ 4 เมื่อวันที่ 22 – 23 ก.พ.63 -รุ่นที่ 5 เมื่อวันที่ 29 ก.พ. – 1 มี.ค.63 -รุ่นที่ 6 เมื่อวันที่ 7 – 8 มี.ค.63 -รุ่นที่ 7 เมื่อวันที่ 14 – 15 มี.ค.63 -รุ่นที่ 8 เมื่อวันที่ 11 – 12 ก.ค.63 -รุ่นที่ 9 เมื่อวันที่ 18 – 19 ก.ค.63 -รุ่นที่ 10 เมื่อวันที่ 25 – 26 ก.ค.63 -รุ่นที่ 11 เมื่อวันที่ 1 – 2 ส.ค.63 -รุ่นที่ 12 เมื่อวันที่ 8 – 9 ส.ค.63 -รุ่นที่ 13 เมื่อวันที่ 15 – 16 ส.ค.63 -รุ่นที่ 14 เมื่อวันที่ 22 – 23 ส.ค.63 -รุ่นที่ 15 เมื่อวันที่ 29 – 30 ส.ค.63 2. สำนักพัฒนาสังคมมีหนังสือ ที่ กท 1503/1857 ลงวันที่ 24 ก.ค.63 เรื่อง ขอความร่วมมือสำนักงานเขตจัดส่งเอกสารประกอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2563 โดยให้ดำเนินการจัดส่งภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2563 ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการจัดส่งเอกสารดังกล่าว 3. จำนวนชุมชนที่จัดทำแผนพัฒนาชุมชน มีจำนวน 2,014 ชุมชน จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 2,014 ชุมชน
๕.๒.๑ ประชาชนมีส่วนร่วมในการเสนอนโยบายและตรวจสอบการทำางานของกรุงเทพมหานคร โดยการใช้ระบบง | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างการประสานขอรายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน
1.สำนักงานการพัฒนาชุมชนได้จัดโครงการพัฒนาศักยภาพกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชนและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชนมีวัตถุประสงค์เพื่ออบรมให้ความรู้ ในการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ ให้กับกรรมการชุมชนดำเนินการจำนวน 15 รุ่น กลุ่มเป้าหมายประกอบด้วยกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 985 ชุมชน และเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานชุมชน จาก 50 เขต รวมทั้งสิ้น 2,250 คน ขณะนี้ดำเนินการไปแล้ว จำนวน 7 รุ่น อบรมกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน จำนวน 1,050 คน จาก 19 เขต 2.สำนักงานการพัฒนาชุมชน ได้จัดประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนพัฒนาชุมชน และการประกวด To Be Number One ในชุมชนกรุงเทพมหานคร ประจำปี 2563 เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2563 ณ ห้องประชุม ชั้น 6 โรงเรียนฝึกอาชีพ ดินแดง 1 โดยมีฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ ทั้ง 50 เขต เข้าร่วมประชุม ที่ประชุมได้ชี้แจงเนื้อหาการทำแผนพัฒนาชุมชน และการบริหารจัดการน้ำ รวมทั้งแจ้งให้สำนักงานเขตดำเนินการจัดส่ง แผนพัฒนาชุมชน โครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการจัดการน้ำ และแผนปฏิบัติราชการประจำปีของสำนักงานเขตที่มีโครงการแผนพัฒนาชุมชนที่จัดทำโดยชุมชนบรรจุไว้ตามที่กำหนดไว้ในตัวชี้วัดภายในเดือน สิงหาคม 2563 ทั้งนี้อยู่ระหว่างการจัดทำหนังสือประสานสำนักงานเขตเพื่อดำเนินการต่อไป
ชะลอการจัดอบรมตามโครงการเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
1. ดำเนินการจัดการอบรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการและศึกษาดูงานแบบพักค้าง 2 วัน 1 คืน ณ จังหวัดกาญจนบุรีให้กับกรรมการชุมชน ผู้นำชุมชน และเจ้าหน้าที่เขตจำนวน 15 รุ่น ดังนี้ -รุ่นที่ 1 เมื่อวันที่ 1 – 2 ก.พ.63 -รุ่นที่ 2 เมื่อวันที่ 8 – 9 ก.พ.63 -รุ่นที่ 3 เมื่อวันที่ 15 – 16 ก.พ.63 -รุ่นที่ 4 เมื่อวันที่ 22 – 23 ก.พ.63 -รุ่นที่ 5 เมื่อวันที่ 29 ก.พ. – 1 มี.ค.63 -รุ่นที่ 6 เมื่อวันที่ 7 – 8 มี.ค.63 -รุ่นที่ 7 เมื่อวันที่ 14 – 15 มี.ค.63 -รุ่นที่ 8 เมื่อวันที่ 11 – 12 ก.ค.63 -รุ่นที่ 9 เมื่อวันที่ 18 – 19 ก.ค.63 -รุ่นที่ 10 เมื่อวันที่ 25 – 26 ก.ค.63 -รุ่นที่ 11 เมื่อวันที่ 1 – 2 ส.ค.63 -รุ่นที่ 12 เมื่อวันที่ 8 – 9 ส.ค.63 -รุ่นที่ 13 เมื่อวันที่ 15 – 16 ส.ค.63 -รุ่นที่ 14 เมื่อวันที่ 22 – 23 ส.ค.63 -รุ่นที่ 15 เมื่อวันที่ 29 – 30 ส.ค.63 2. สำนักพัฒนาสังคมมีหนังสือ ที่ กท 1503/1857 ลงวันที่ 24 ก.ค.63 เรื่อง ขอความร่วมมือสำนักงานเขตจัดส่งเอกสารประกอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ. 2563 โดยให้ดำเนินการจัดส่งภายในวันที่ 31 สิงหาคม 2563 ขณะนี้อยู่ระหว่างดำเนินการจัดส่งเอกสารดังกล่าว 3. จำนวนชุมชนที่จัดทำแผนพัฒนาชุมชน มีจำนวน 2,014 ชุมชน จากจำนวนชุมชนทั้งหมด 2,014 ชุมชน
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 |
อยู่ระหว่างการติดต่อประสานงานสถานที่และวิทยากรและการจัดทำข้อมูลรายวิชา
เลื่อนการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19
ยกเลิกการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
สำนักพัฒนาสังคมไม่สามารถดำเนินการตามโครงการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :20.00 ผลงาน :29.91 |
อยู่ระหว่างกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะ (TOR) และราคากลาง
เลื่อนการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19
ขณะนี้ดำเนินการลงนามในสัญญาเมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2563
1.ผลิตภัณฑ์ชุมชนของกรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) มีจำนวนทั้งหมด 652 ผลิตภัณฑ์ 2.ผลิตภัณฑ์ชุมชนของกรุงเทพมหานครที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานฯ มีจำนวน 195 ผลิตภัณฑ์ ประกอบด้วย 2.1 ผลิตภัณฑ์ชุมชน ระดับ Primium จำนวน 44 ราย 2.2 ผลิตภัณฑ์ชุมชนระดับ Platinum จำนวน 151 ราย
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :0.00 |
1.อยู่ระหว่างการแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะ (TOR) และราคากลาง 2.อยู่ระหว่างการสำรวจสถานที่ดำเนินโครงการและกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะ (TOR) และราคากลาง
เลื่อนการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด -19
โครงการมหกรรมผลิตภัณฑ์กรุงเทพมหานคร (Bangkok Brand) 2020 และโครงการตลาดชุมชนกรุงเทพมหานคร ยกเลิกการจัดงานเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
สำนักพัฒนาสังคมคืนเงินงบประมาณ ไม่สามารถดำเนินการตามโครงการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19)
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :93.75 |
อยู่ระหว่างการดำเนินการกำหนดหลักสูตรการฝึกอบรมและประสานสถานที่อบรมและวิทยากร โดยกำหนดจัดอบรมวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมปริ๊นตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง
1.อยู่ระหว่างจัดทำแผนลงพื้นที่ตรวจติดตามและประเมินผลของผู้เข้าร่วมโครงการที่สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้ (กำหนดลงพื้นที่หลังอบรม 3-6 เดือน) 2.ดำเนินการจัดอบรมส่งเสริมความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตรให้แก่เกษตรกรผู้ประกอบการแล้ว จนำนวน 48 คน เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมปริ้๊นตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ 3.ดำเนินการทดสอบความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น 45 คน จาก ทั้งหมด 48 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
1.อยู่ในระหว่างการติดตามและประเมินผล เกษตรกรที่ผ่านการอบรมฯ จำนวน 48 คน 2.ดำเนินการจัดอบรมให้ความรู้ เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมปริ้นตั้น พาร์ค สวีท ดินแดง กทม. ดำเนินการทดสอบความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่า ผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น จำนวน 45 คน จาก 48 คน คิดเป็นร้อยละ 93.75
สำนักพัฒนาสังคมดำเนินการส่งเสริมความรู้เทคโนโลยีด้านการเกษตร โดยการจัดอบรมให้ความรู้กับเกษตรกรและผู้เกี่ยวข้องจำนวน 91 คน (เจ้าหน้าที่ 43 คน เกษตรกรผู้ประกอบการ 48 คน เมื่อวันที่ 19 ก.พ.2563 ณ โรงแรมปริ๊นส์ตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ 1. ผลการทดสอบความรู้ การทดสอบ Pretest และ Post test แก่เกษตรกรฯ จำนวน 48 คน พบว่ามีเกษตรกร จำนวน 45 คน มีความรู้เพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 93.75 2.การนำความรู้ไปปฏิบัติได้ สำนักพัฒนาสังคมได้ส่งแบบสอบถาม เพื่อติดตามประเมินผลจากเกษตรกรฯ จำนวน 48 ราย สามารถนำความรู้ไปปฏิบัติได้หรือไม่อย่างไร พบว่ามี เกษตรกรฯ จำนวน 45 ราย สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมไปปฏิบัติได้จริง
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :15.00 ผลงาน :0.00 |
1.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรของกรุงเทพมหานคร 2.จัดประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 และกำหนดจะจัดประชุมครั้งที่ 2 ในวันที่ 26 ธันวาคม 2562 3.กำหนดอบรมให้ความรู้ด้านมาตรฐานแก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกรในวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงแรมปริ๊นตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง
อยู่ระหว่างการจัดทำแผนลงพื้นที่ตรวจติดตามและประเมินผล
สำนักพัฒนาสังคมไม่สามารถดำเนินโครงการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19)และคืนเงินให้สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว
1. ได้ดำเนินการอบรมสร้างความเข้าใจเรื่องให้แก่เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรจากสำนักงานเขตและสำนักพัฒนาสังคม จำนวน 99 คน เมื่อวันที่ 30 ม.ค.2563 ณ โรงแรมปริ๊นส์ตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ 2. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานฯ และได้จัดประชุมแล้ว จำนวน 3 ครั้ง 3. ได้ข้อกำหนดมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของ กทม.แล้ว อยู่ระหว่างจัดทำแบบฟอร์มต่างๆ และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน 4. ได้คืนเงินงบประมาณในการดำเนินโครงการตามนโยบายผู้บริหาร เช่นค่าวัสดุ ค่าชุดตรวจสารเคมี ค่าใช้จ่ายในการอบรมทำความเข้าใจเกษตรกรให้เข้าร่วมโครงการ
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :0.00 |
1.แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตรของกรุงเทพมหานคร 2.จัดประชุมคณะกรรมการฯ ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2562 และกำหนดจะจัดประชุมครั้งที่ 2 ในวันที่ 26 ธันวาคม 2562 3.กำหนดจัดอบรมให้ความรู้ด้านมาตรฐานแก่เจ้าหน้าที่และเกษตรกรในวันที่ 30 มกราคม 2563 ณ โรงแรมปริ๊นตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง
ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทำแผนลงพื้นที่การตรวจติดตามและประเมินผล
สำนักพัฒนาสังคมไม่สามารถดำเนินโครงการได้เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19)และคืนเงินให้สำนักงบประมาณกรุงเทพมหานครเรียบร้อยแล้ว
1. ได้ดำเนินการอบรมสร้างความเข้าใจเรื่องให้แก่เกษตรกร และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรจากสำนักงานเขตและสำนักพัฒนาสังคม จำนวน 99 คน เมื่อวันที่ 30 ม.ค.2563 ณ โรงแรมปริ๊นส์ตั้น พาร์ค สวีท เขตดินแดง กรุงเทพฯ 2. ได้แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานฯ และได้จัดประชุมแล้ว จำนวน 3 ครั้ง 3. ได้ข้อกำหนดมาตรฐานสินค้าด้านการเกษตรของ กทม.แล้ว อยู่ระหว่างจัดทำแบบฟอร์มต่างๆ และแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมิน 4. ได้คืนเงินงบประมาณในการดำเนินโครงการตามนโยบายผู้บริหาร เช่นค่าวัสดุ ค่าชุดตรวจสารเคมี ค่าใช้จ่ายในการอบรมทำความเข้าใจเกษตรกรให้เข้าร่วมโครงการ
๖.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :35.00 ผลงาน :44.00 |
อยู่ระหว่างประชาสัมพันธ์และให้ความรู้การเพิ่มมูลค่าสินค้าด้านการเกษตร
ขณะนี้อยู่ระหว่างการส่งเสริม แนะนำให้เกษตรกรเพิ่มมูลค่าสินค้าการเกษตร
อยู่ระหว่างการติดตามและประเมินผลสินค้าเกษตรที่เข้าร่วมโครงการมูลค่าเพิ่มขึ้นหรือไม่ และมีจำนวนกี่ผลิตภัณฑ์
ได้ส่งเสริมให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรให้มีมูลค่าเพิ่มขึ้น โดยการแนะนำให้ความรู้ ส่งเสริม ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบสินค้าเกษตรที่เพิ่มมูลค่ากับสินค้าเกษตรไม่เพิ่มมูลค่าให้เกษตรกรได้เห็นถึงความสำคัญของการเพิ่มมูลค่า สามารถกระตุ้นให้ผู้บริโภคต้องการซื้อสินค้าได้มากขึ้น และสำนักพัฒนาสังคมได้จัดหาสถานที่จำหน่ายสินค้าการเกษตรให้แก่เกษตรกร (กทม.1, 2) ในการนี้มีสินค้าเกษตรเข้าร่วม 50 ชนิด และมีสินค้าเกษตรที่มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 22 ชนิด
๗.๕.๑ กรุงเทพมหานครให้บริการประชาชนด้วยความสะดวก รวดเร็ว ถูกต้องและโปร่งใส โดยประยุกต์ | |
![]() |
หน่วยนับ :ระบบ เป้าหมาย :5.00 ผลงาน :5.00 |
อยู่ระหว่างขั้นตอนวิเคราะห์และออกแบบระบบการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูลสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม
ดำเนินการจัดทำข้อมูลส่งให้สำนักยุทธศาสตร์และประเมินผล เรียบร้อยแล้ว โดยข้อมูลประกอบด้วย 1.แบบทบทวนสถานะข้อมูลปัจจุบันและลำดับความสำคัญภารกิจของหน่วยงาน 2.แผนพัฒนาฐานข้อมูลของหน่วยงาน ตามหนังสือ กท 0502/574 ลงวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563
อยู่ระหว่างขั้นตอนดำเนินการทดสอบระบบการจัดเก็บและสืบค้นข้อมูลสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม
ขั้นตอนการดำเนินงานประกอบด้วย 1. ศึกษา รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลสถิติเพื่อนำเข้าระบบ 2. วิเคราะห์และออกแบบระบบเรียกดูข้อมูลสถิติตามภารกิจของสำนักพัฒนาสังคม 3. ดำเนินการพัฒนาระบบฯ 4. ทดสอบระบบฯ 5. นำเข้าข้อมูลในระบบฯ ระบบบริการอิเล็กทรอนิกส์ของสำนักพัฒนาสังคม 5 ระบบ ประกอบด้วย 1. ข้อมูลผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยผู้สูงอายุ 2. ข้อมูลศูนย์พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียน 3. นักศึกษามีงานทำโรงเรียนฝึกอาชีพกรุงเทพมหานคร 4. ข้อมูลทดสอบมาตรฐานวิชาชีพตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน 5. ข้อมูลชุมชน