รายละเอียดตัวชี้วัด

Back Home

ความสามารถในการระบายน้ำจากถนนสายหลัก ที่มีปัญหาน้ำท่วมขังเนื่องจากฝนตก(ผลลัพธ์) (กสน.) : 1100-0802

ค่าเป้าหมาย ไม่เกิน...นาที : 150

ผลงานที่ทำได้ ไม่เกิน...นาที : 56

ประเภทตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดเชิงยุทธศาสตร์
(ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ (outcome))

0

รายละเอียดตัวชี้วัดฯ : พิมพ์ข้อมูล

*** สยป. ตรวจประเมินตัวชี้วัด : ไตรมาสที่ 3: 100

ผลงานเทียบกับเป้าหมายรายไตรมาส

ไตรมาสที่
(1 - 4)
*ผลงาน*
(ไม่เกิน...นาที)
*ผลประเมินตัวชี้วัด*
(* 2.1 / 2.2 *)
1
56.00
100
100 / 100
2
15.00
100
100 / 100
3
112.00
100
100 / 100
4
38.00
100
100 / 100

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 1

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 2

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 3

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

รายงานผลฯ ไตรมาสที่ 4

ทุกโครงการที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการได้ตามเป้าหมาย

** สรุปผลการดำเนินงาน **

นิยาม หรือความหมายของตัวชี้วัด

ถนนสายหลัก หมายถึง ถนนสายหลักทั้งหมดในพื้นที่กรุงเทพมหานครที่สำนักการระบายน้ำรับผิดชอบการดูแลในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในพื้นผิวถนน ยกเว้นบริเวณที่มีการก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ เช่น รถไฟฟ้า ถนน สะพาน เป็นต้น ความสามารถระบายน้ำท่วมขัง หมายถึง ความสามารถในการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมขังในพื้นผิวถนนที่มีปริมาณฝนตก 80-100 มิลลิเมตร/ชั่วโมง ให้สามารถระบายน้ำท่วมขังเข้าสู่สภาวะปกติได้ในเวลาที่กำหนด ยกเว้นพื้นที่ที่มีการก่อสร้างที่ส่งผลกระทบต่อระบบระบายน้ำ

วิธีการคำนวณ หรือ เกณฑ์การประเมิน

ระดับผลลัพธ์ : = จำนวนครั้งที่ฝนตกและใช้เวลาระบายน้ำท่วมขังได้ไม่เกิน 150 นาที X 100 จำนวนครั้งที่ฝนตก (วัดช่วงเวลาน้ำท่วมนับจากฝนหยุดตก โดยใช้ข้อมูลสถิติที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ) ระดับผลผลิต : ร้อยละ 100 ของความสำเร็จเฉลี่ยทุกโครงการก่อสร้าง วิธีการคำนวณ : แบ่งสัดส่วนการดำเนินการ ดังนี้ 1. ออกแบบและรายการ ร้อยละ 20 4. จัดหาผู้รับจ้าง ร้อยละ 5 2. ขออนุมัติดำเนินการ ร้อยละ 10 5. ขออนุมัติจ้าง ร้อยละ 5 3. จัดทำ TOR ร้อยละ 10 6. ดำเนินการก่อสร้าง ร้อยละ 50 การวัดร้อยละความสำเร็จของโครงการก่อสร้างฯ ร้อยละความสำเร็จ = ร้อยละความก้าวหน้า X 100 ร้อยละค่าเป้าหมาย ร้อยละความสำเร็จเฉลี่ย = ∑ร้อยละความสำเร็จ ∑จำนวนโครงการ

วิธีการการเก็บข้อมูล/แหล่งข้อมูล

โดยใช้ข้อมูลสถิติที่บันทึกไว้จากกองระบบสารสนเทศระบายน้ำ

สนับสนุนยุทธศาสตร์กรุงเทพมหานครฯ

:ด้านที่ ๑ – มหานครปลอดภัย : Bangkok as a Safe City
:๑.๔ - ปลอดภัยพิบัติ
:๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ%
:๑.๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครมีความพร้อมในการรับมือกับอุทกภัยทั้งจากน้ำฝนน้ำหนุนและน้ำหลาก เสริมสร้างศักยภาพและความสามารถด้านบุคลากรและเครื่องมือ

โครงการ/กิจกรรมที่สนับสนุนตัวชี้วัด

ฐานข้อมูลประกอบตัวชี้วัดการพัฒนาเมือง