๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ฐานข้อมูล เป้าหมาย :1.00 ผลงาน :1.00 |
ดำเนินการจัดทำโครงการ และรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการเพื่อจัดทำฐานข้อมูลผู้ประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนิดน้ำเสียในกรุงเทพมหานคร
-รวบรวมข้อมูลสถานประกอบการที่เป็นแหล่งกำเนินน้ำเสียและประชาสัมพันธ์เสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการดูแลระบบบำบัดน้ำเสียและการจัดเก็บค่าธรรมเนียมบำบัดน้ำเสียให้แก่สถานประกอบการ
ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการและประชาสัมพันธ์โครงการ และขั้นตอนการรายงานสรุปผลข้อมูลสถานประกอบการ
ดำเนินการรวบรวมข้อมูลสถานประกอบการและประชาสัมพันธ์โครงการ และขั้นตอนการรายงานสรุปผลข้อมูลสถานประกอบการ
๑.๑.๑ แหล่งน้ำสาธารณะทั้งแม่น้ำสายหลักและคูคลองต่างๆ มีคุณภาพน้ำอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน คุณภ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างดำเนินโครงการ
อยู่ระหว่างดำเนินโครงการ
อยู่ระหว่างดำเนินโครงการ
ดำเนินโครงการแล้วเสร็จและเป็นไปตามเป้าหมายทุกโครงการ
๑.๑.๒ กรุงเทพมหานครมีการลดและควบคุมปริมาณมูลฝอยที่แหล่งกำาเนิดและเพิ่มประสิทธิภาพ การจั | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :15.00 ผลงาน :20.64 |
2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 5,690.03 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 2.77 ตัน จากเป้าหมาย 22.71 ตัน
2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 17,753.06 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 14.71 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน
-2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 26,455.79 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 22.31 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน
2.1.) ร้อยละของปริมาณมูลฝอยที่คัดแยกและน้ากลับไปใช้ประโยชน์ที่แหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้น ฯ - สามารถดำเนินการได้ 33,757.41 ตัน จากเป้าหมาย 30,348.50 ตัน 2.2.) ร้อยละปริมาณมูลฝอยอันตรายที่คัดแยกจากแหล่งกำเนิดเพิ่มขึ้นฯ - สามารถดำเนินการได้ 24.98 ตัน จากเป้าหมาย 24.71 ตัน
๑.๒.๑ ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :96.19 |
1. เตรียมการ และสำรวจกำหนดจุดพื้นที่เสี่ยงภัยเพื่อติดตั้งตู้เขียว จำนวน 14 จุด ดังนี้ (1) ซ.ลาดพร้าว 47 แยก 9 (2) ซ.ลาดพร้าว 64 แยก 2 (3) ซ.สังคมสงเคราะห์ 7 (4) ซ.ลาดพร้าว 83 แยก 1 (5) ซ.ลาดพร้าว 87 แยก 2 (6) ซ.ลาดพร้าว 93 (7) ซ.ลาดพร้าว 106 (8) ซ.ลาดพร้าว 122 แยก 26 (9) ซ.ลาดพร้าว 124 (10) ซ.ลาดพร้าว 126 (11) ซ.รามคำแหง 43/1 (12) ซ.พระยาประเสริฐ (13) หน้าห้างบิ๊กซี อิมพีเรียลเวิลด์ลาดพร้าว (14) ซ.ลาดพร้าว 71 (จุดเฝ้าระวัง บก.น.4) 2. ขอนุมัติโครงการ 3. จัดทำแผนการตรวจและมอบหมายเจ้าหน้าที่สายตรวจรับผิดชอบการตรวจและปฏิบัติหน้าที่ 4. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดตู้เขียว 3 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 14 จุด รวมตรวจ 3,864 ครั้ง เหตุการณ์ปกติ แยกเป็น -เดือนตุลาคม 2562 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง -เดือนพฤศจิกายน 2562 ออกตรวจ จำนวน 1,260 ครั้ง -เดือนธันวาคม 2562 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง 5. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดที่กำหนดให้เป็นจุดเสี่ยงภัย 1 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 12 จุด 31 กล้อง รวมตรวจ 12 จุด 2,852 ครั้ง พบว่ามีการชำรุด จำนวน 2 กล้อง มีหนังสือประสานสำนักการจราจรและขนส่ง ดำเนินการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว -เดือนตุลาคม 2562 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนพฤศจิกายน 2562 ออกตรวจฯ จำนวน 930 ครั้ง พบว่ามีการชำรุด จำนวน 2 กล้อง มีหนังสือประสานสำนักการจราจรและขนส่ง ดำเนินการแก้ไขเรียบร้อยแล้ว -เดือนธันวาคม 2562 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด 6. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดตู้เขียว 3 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 14 จุด รวมตรวจ 3,822 ครั้ง เหตุการณ์ปกติ แยกเป็น -เดือนมกราคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง -เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,218 ครั้ง -เดือนมีนาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง 2. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดที่กำหนดให้เป็นจุดเสี่ยงภัย 1 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 12 จุด 31 กล้อง รวมตรวจ 12 จุด 2,821 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนมกราคม 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 899 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนมีนาคม 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด 3. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดตู้เขียว 3 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 14 จุด รวมตรวจ 3,822 ครั้ง เหตุการณ์ปกติ แยกเป็น -เดือนเมษายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,260 ครั้ง -เดือนพฤษภาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง -เดือนมิถุนายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,260 ครั้ง 2. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดที่กำหนดให้เป็นจุดเสี่ยงภัย 1 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 12 จุด 31 กล้อง รวมตรวจ 12 จุด 2,821 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนเมษายน 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 930 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนพฤษภาคม 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนมิถุนายน 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 930 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจจุดตู้เขียว 3 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 14 จุด รวมตรวจ 3,192 ครั้ง เหตุการณ์ปกติ แยกเป็น -เดือนกรกฎาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง -เดือนสิงหาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 1,302 ครั้ง -เดือนกันยายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 588 ครั้ง (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) 2. เจ้าหน้าที่เทศกิจตรวจสอบประสิทธิภาพการทำงานของกล้องวงจรปิด (CCTV) บริเวณจุดที่กำหนดให้เป็นจุดเสี่ยงภัย 1 ครั้ง/วัน/จุด จำนวน 12 จุด 31 กล้อง รวมตรวจ 12 จุด 2,356 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนกรกฎาคม 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนสิงหาคม 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 961 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด -เดือนกันยายน 2563 ออกตรวจฯ จำนวน 434 ครั้ง ไม่พบว่ามีการชำรุด (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการออกตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม 4. สรุปผลการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการลดเงื่อนไขความล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมพื้นที่เสี่ยงภัย ประชาชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 96.19
๑.๒.๒ เด็กและเยาวชนไม่เสพยาเสพติด ผู้เสพติดทุกคนเข้าสู่ระบบการบำบัดรักษาและฟื้นฟูที่มีมา | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง เป้าหมาย :4.00 ผลงาน :4.00 |
อยู่ระหว่างประชุมเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ
อยู่ระหว่างประชุมเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ
ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การป้องกันยาเสพติด ผ่านทางเว็บไซต์สำนักงานเขต เมื่อวันที่ 26 มิถุนายน 2563
ดำเนินการจัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้ด้านยาเสพติด จำนวน 4 ครั้ง เรียบร้อยแล้ว ดังนี้ 1. ฝ่ายปกครองรณรงค์ต่อต้านการใช้ยาเสพติด ผ่านเครือข่ายออนไลน์ 2. ฝ่ายสิ่งแวดล้อมฯ รณรงค์ให้ความรู้ถึงอันตรายของยาเสพติดและตรวจหาสารเสพติดของพนักงานในสถานประกอบการ 3. ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดในชุมชน ทั้ง 19 ชุมชน 4. โรงเรียน ในสังกัด กทม. จัดกิจกรรมให้ความรู้ถึงความอันตรายของยาเสพติดและสอนให้หลีกเลี่ยงหรือปฏิเสธหากมีใครมาชักชวนให้ใช้ยาเสพติด
๑.๔.๑ กรุงเทพมหานครสามารถลดความเสี่ยงและฟื้นคืนจากภัยพิบัติ | |
![]() |
หน่วยนับ :ครั้ง เป้าหมาย :2.00 ผลงาน :3.00 |
อยู่ระหว่างประชุมเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ
ฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงานภายนอก ( เอกชน ) จำนวน 1 ครั้ง วันที่ 19 ธันวาคม 2562 บริษัท ปาโก้ คาซ่า จำกัด ได้ดำเนินการฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟในอาคาร
ฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงานภายนอก ( เอกชน ) จำนวน 1 ครั้ง วันที่ 19 ธันวาคม 2562 บริษัท ปาโก้ คาซ่า จำกัด ได้ดำเนินการฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟในอาคาร
ปีงบประมาณ 2563 ได้ดำเนินการฝึกซ้อมอพยพนีไฟ จำนวน 3 ครั้ง เป็นหน่วยงายภายนอก 2 ครั้ง และภายในหน่วยงาน 1 ครั้ง เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
๑.๖.๕ กรุงเทพมหานครเป็นเมืองที่มีอาหารปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรค และสารปนเปื้อน | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ดำเนินการ 1. ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน - โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย 1. ปฏิบัติงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตวังทองหลาง 2. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 3. ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ในพื้นที่เขตวังทองหลาง โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 เริ่มดำเนินการเดือนธันวาคม 2562 สิ้นสุดการดำเนินการเดือนสิงหาคม 2563
โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ดำเนินการ 1. ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 443 ร้าน - โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย 1. ปฏิบัติงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตวังทองหลาง 2. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 3. ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ในพื้นที่เขตวังทองหลาง โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 เริ่มดำเนินการเดือนธันวาคม 2562 สิ้นสุดการดำเนินการเดือนสิงหาคม 2563
โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ดำเนินการ 1. ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 454 แห่ง ตรวจประเมิน 352 แห่ง (ร้านอาหาร 248 แห่ง มินิมาร์ท 90 แห่ง ตลาด 11 แห่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต 3 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 307 แห่ง - โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย 1. ปฏิบัติงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตวังทองหลาง 2. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 3. ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ในพื้นที่เขตวังทองหลาง โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 เริ่มดำเนินการเดือนธันวาคม 2562 สิ้นสุดการดำเนินการเดือนสิงหาคม 2563
-โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย ดำเนินการ 1. ตรวจสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหารและสถานที่สะสมอาหาร 2. ตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษในอาหารและน้ำ โดยมีจำนวนสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี - จำนวนสถานประกอบการอาหารทั้งหมด 456 แห่ง ตรวจประเมิน 456 แห่ง (ร้านอาหาร 317 แห่ง มินิมาร์ท125 แห่ง ตลาด 11 แห่ง ซุปเปอร์มาร์เก็ต 3 แห่ง) ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานครระดับดี 456 แห่ง - โครงการกรุงเทพฯ เมืองแห่งสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่ดี สะอาดปลอดภัย 1. ปฏิบัติงานตรวจสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในพื้นที่เขตวังทองหลาง 2. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 3. ดำเนินงานเพื่อบังคับใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัติควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ.2560 ในพื้นที่เขตวังทองหลาง โดยดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการและประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 เริ่มดำเนินการเดือนธันวาคม 2562 สิ้นสุดการดำเนินการเดือนสิงหาคม 2563
๑.๖.๖ คนกรุงเทพฯมีวิถีชีวิตแบบ Active Living Lifestyle | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :10.00 ผลงาน :10.00 |
1. เตรียมการและขออนุมัติโครงการ 2. จัดทำหนังสือขอเชิญประชุมเพื่อจัดหาคณะกรรมการประเมินลานกีฬา
- จัดทำข้อมูลและทำป้าย แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์เชิญชวนประชาชนให้มาใช้บริการลานกีฬา และตีเส้นสนามใหม่ - จัดหาถังขยะเพิ่มเติมในจุดต่าง ๆ ของลานกีฬา เพื่ออำนวยความสะดวกให้แก่ผู้มาใช้บริการลานกีฬาและจัดทำป้ายรณรงค์ให้ประชาชนที่มาใช้บริการรักษาความสะอาดของลานกีฬา - ล้างทำความสะอาดลานกีฬา วัสดุอุปกรณ์กีฬา เก้าอี้ โต๊ะ และซ่อมแซมห้องน้ำที่ชำรุด
- ประจำเดือนเมษายน 2563 งดการจัดกิจกรรมชั่วคราว ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 อย่างเคร่งครัด จนกว่าสถานการณ์จะปกติ - ประจำเดือนพฤษภาคม 2563 งดการจัดกิจกรรมชั่วคราว ตามประกาศกรุงเทพมหานคร เรื่อง มาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 อย่างเคร่งครัด จนกว่าสถานการณ์จะปกติ - วันที่ 9 มิถุนายน 2563 ผู้อำนวยการเขตวังทองหลาง (นายโกมินทร์ ชินบุตร) มอบหมายนายบุญชัย นำเจริญสมบัติ หัวหน้าฝ่ายพัฒนาขุมชนและสวัสดิการสังคม จัดเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครลานกีฬาตั้งจุดคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โดยยึดตามแนวทางปฏิบัติของศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (ศบค) และอำนวยความสะดวกแก่ผู้ใช้บริการลานกีฬา ณ ลานกีฬาวังทองหลาง (ฝั่งเหนือ) และลานกีฬาวังทองหลาง (ฝั่งใต้) เขตวังทองหลาง - วันที่ 14 มิถุนายน 2563 เจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาชุมชนฯ และอาสาสมัครลานกีฬาสำรวจวัสดุอุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวกภายในลานกีฬา ณ ลานกีฬาวังทองหลาง (ฝั่งใต้) โดยดำเนินการติดตั้งตาข่ายตะกร้อและตาข่ายวอลเล่ย์บอลที่ชำรุด และดำเนินการรื้อแผ่นยางพื้นสนามฟุตซอลเป็นการชั่วคราวเพื่อทำความสะอาดบริเวณพื้นสนาม - วันที่ 25 มิถุนายน 2563 เจ้าหน้าที่และอาสาสมัครลานกีฬาลงพื้นที่สำรวจข้อมูลการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาของประชาชน
สรุปผลการดำเนินการพัฒนาเพื่อยกระดับศักยภาพลานกีฬาของสำนักงานเขตวังทองหลางใน 4 ด้าน 1. ด้านกายภาพ 2. ด้านการบริหารจัดการ 3. ด้านการจัดกิจกรรมและผลสัมฤทธิ์ 4. ด้านความร่วมมือ/สนับสนุนต่าง ๆ ในการพัฒนาลานกีฬา ดำเนินการ ณ ลานกีฬา 2 แห่ง ได้แก่ ลานกีฬาวังทองหลาง (ฝั่งเหนือ) และลานกีฬาชุมชนหมู่บ้านพลับพลา - จัดทำคำสั่งสำนักงานเขตวังทองหลางแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจประเมินมาตรฐานลานกีฬา ประจำปีงบประมาณ 2563 - คณะกรรมการตรวจประเมินฯ ออกตรวจประเมินมาตรฐานลานกีฬาเพื่อรับรองคุณภาพและมาตรฐานลานกีฬาตามมาตรฐานของกองการกีฬา - ฝ่ายพัฒนาชุมชนและสวัสดิการสังคมสรุปผลการตรวจประเมินฯ
๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :90.75 |
1. เตรียมการ และขอนุมัติโครงการ 2. จัดทำแผนการตรวจและมอบหมายเจ้าหน้าที่สายตรวจรับผิดชอบการตรวจ 3. เจ้าหน้าที่เทศกิจตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 2 จุดต่อวัน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนตั้งจุดกวดขันฯ ตามความเหมาะสม สถานการณ์ ดังนี้ ถนนลาดพร้าว - ปากซอยลาดพร้าว 57 – 63 - ปากซอยลาดพร้าว 79 – 83 - ปากซอยลาดพร้าว 91 – 95 - ปากซอยลาดพร้าว 97 – 101 - ปากซอยลาดพร้าว 112 – 98 - ปากซอยลาดพร้าว 96 – 88 - ปากซอยลาดพร้าว 84 - 80 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม -บริษัทเซราไทย ถึง ถนน อินทราภรณ์ -ถนนอินทราภรณ์ ถึง ประดิษฐ์มนูธรรม 2 - คลองลาดพร้าว ถึง ซอยจำเนียรเสริม -ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 7 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 3 -ซอยรามคำแหง 21 ถึง คลองลาดพร้าว -ซอยลาดพร้าว 77 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 10 รวมตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 184 จุด แยกเป็น -เดือนตุลาคม 2562 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด -เดือนพฤศจิกายน 2562 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 60 จุด -เดือนธันวาคม 2562 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด 4. จับกุมผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า จำนวน 277 ราย ดำเนินคดีเปรียบเทียบตาม พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 277 ราย เป็นเงิน 550,000.- บาท แยกเป็น -เดือนตุลาคม 2562 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 118 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 233,000.- บาท -เดือนพฤศจิกายน 2562 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 73 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 139,000.- บาท -เดือนธันวาคม 2562 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 86 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 178,000.- บาท 5. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 2 จุดต่อวัน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนตั้งจุดกวดขันฯ ตามความเหมาะสม สถานการณ์ ดังนี้ ถนนลาดพร้าว - ปากซอยลาดพร้าว 57 ถึง 63 - ปากซอยลาดพร้าว 79 ถึง 83 - ปากซอยลาดพร้าว 91 ถึง 95 - ปากซอยลาดพร้าว 97 ถึง 101 - ปากซอยลาดพร้าว 112 ถึง 98 - ปากซอยลาดพร้าว 96 ถึง 88 - ปากซอยลาดพร้าว 84 ถึง 80 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม -บริษัทเซราไทย ถึง ถนน อินทราภรณ์ -ถนนอินทราภรณ์ ถึง ประดิษฐ์มนูธรรม 2 - คลองลาดพร้าว ถึง ซอยจำเนียรเสริม -ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 7 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 3 -ซอยรามคำแหง 21 ถึง คลองลาดพร้าว -ซอยลาดพร้าว 77 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 10 รวมตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 182 จุด แยกเป็น -เดือนมกราคม 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด -เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 58 จุด -เดือนมีนาคม 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด 2. จับกุมผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า จำนวน 154 ราย ดำเนินคดีเปรียบเทียบตาม พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 154 ราย เป็นเงิน 312,000.- บาท แยกเป็น -เดือนมกราคม 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 81 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 161,000.- บาท -เดือนกุมภาพันธ์ 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 70 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 142,000.- บาท -เดือนมีนาคม 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 3 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 9,000.- บาท 3. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 2 จุดต่อวัน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนตั้งจุดกวดขันฯ ตามความเหมาะสม สถานการณ์ ดังนี้ ถนนลาดพร้าว - ปากซอยลาดพร้าว 57 ถึง 63 - ปากซอยลาดพร้าว 79 ถึง 83 - ปากซอยลาดพร้าว 91 ถึง 95 - ปากซอยลาดพร้าว 97 ถึง 101 - ปากซอยลาดพร้าว 112 ถึง 98 - ปากซอยลาดพร้าว 96 ถึง 88 - ปากซอยลาดพร้าว 84 ถึง 80 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม -บริษัทเซราไทย ถึง ถนน อินทราภรณ์ -ถนนอินทราภรณ์ ถึง ประดิษฐ์มนูธรรม 2 - คลองลาดพร้าว ถึง ซอยจำเนียรเสริม -ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 7 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 3 -ซอยรามคำแหง 21 ถึง คลองลาดพร้าว -ซอยลาดพร้าว 77 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 10 รวมตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 182 จุด แยกเป็น -เดือนเมษายน 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 60 จุด -เดือนพฤษภาคม 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด -เดือนมิถุนายน 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 60 จุด 2. จับกุมผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า จำนวน 215 ราย ดำเนินคดีเปรียบเทียบตาม พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 215 ราย เป็นเงิน 457,000.- บาท แยกเป็น -เดือนเมษายน 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 4 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 8,000.- บาท -เดือนพฤษภาคม 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 118 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 252,000.- บาท -เดือนมิถุนายน 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 93 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 197,000.- บาท 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 2 จุดต่อวัน โดยสับเปลี่ยนหมุนเวียนตั้งจุดกวดขันฯ ตามความเหมาะสม สถานการณ์ ดังนี้ ถนนลาดพร้าว - ปากซอยลาดพร้าว 57 ถึง 63 - ปากซอยลาดพร้าว 79 ถึง 83 - ปากซอยลาดพร้าว 91 ถึง 95 - ปากซอยลาดพร้าว 97 ถึง 101 - ปากซอยลาดพร้าว 112 ถึง 98 - ปากซอยลาดพร้าว 96 ถึง 88 - ปากซอยลาดพร้าว 84 ถึง 80 ถนนประดิษฐ์มนูธรรม -บริษัทเซราไทย ถึง ถนน อินทราภรณ์ -ถนนอินทราภรณ์ ถึง ประดิษฐ์มนูธรรม 2 - คลองลาดพร้าว ถึง ซอยจำเนียรเสริม -ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 7 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 3 -ซอยรามคำแหง 21 ถึง คลองลาดพร้าว -ซอยลาดพร้าว 77 ถึง ซอยประดิษฐ์มนูธรรม 10 รวมตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า จำนวน 152 จุด แยกเป็น -เดือนกรกฎาคม 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด -เดือนสิงหาคม 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 62 จุด -เดือนกันยายน 2563 ตั้งจุดกวดขันฯ จำนวน 28 จุด (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) 2. จับกุมผู้ฝ่าฝืนจอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า จำนวน 101 ราย ดำเนินคดีเปรียบเทียบตาม พ.ร.บ.รักษาความสะอาดฯ พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม จำนวน 101 ราย เป็นเงิน 215,000.- บาท แยกเป็น -เดือนกรกฎาคม 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 69 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 147,000.- บาท -เดือนสิงหาคม 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 16 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 32,000.- บาท -เดือนกันยายน 2563 จับกุมผู้ฝ่าฝืนฯ จำนวน 16 ราย เปรียบเทียบปรับ เป็นเงิน 36,000.- บาท (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า 4. สรุปผลการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการดำเนินการตั้งจุดกวดขันผู้กระทำความผิดในการจอดรถยนต์ รถจักรยานยนต์ หรือขับขี่รถจักรยานยนต์บนทางเท้า ประชาชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 90.75
๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างประชุมเพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
ดำเนินการจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2563 สำนักงานเขตวังทองหลาง ดำเนินการจัดจิตอาสาพัฒนาคู คลองเมืองเดิม คลองเปรมประชากร เขตพระนคร เพื่อพัฒนาทัศนียภาพและป้องกันน้ำท่วม ส่วนขณะนี้ชะลอการดำเนินโครงการเนื่องจากสถานการณ์โควิท-19 ( COVID-19 ) เนื่องจากการจัดกิจกรรมจะทำให้ต้องมีการระดมผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก ซึ่งอาจทำให้เกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโรคได้
ดำเนินการจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2563 และ 29 พฤฒภาคม 2563 สำนักงานเขตวังทองหลาง ดำเนินการจัดจิตอาสาพัฒนาคู คลองเมืองเดิม คลองเปรมประชากร เขตพระนคร เพื่อพัฒนาทัศนียภาพและป้องกันน้ำท่วม
-ดำเนินการจัดกิจกรรมเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2563 และ 29 พฤฒภาคม 2563 และวันที่ 29 กรกฎาคม 2563 สำนักงานเขตวังทองหลาง ดำเนินการจัดจิตอาสาพัฒนาคู คลองเมืองเดิม คลองเปรมประชากร เขตพระนคร เพื่อพัฒนาทัศนียภาพและป้องกันน้ำท่วม
๒.๑.๑ กรุงเทพมหานครจัดระเบียบเมือง ปรับปรุงทัศนียภาพของเมืองให้แลดูสะอาด ไม่มีสายไฟฟ้า | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :97.40 |
1. ขอนุมัติโครงการ 2. จัดทำแผนการตรวจและมอบหมายเจ้าหน้าที่สายตรวจรับผิดชอบการตรวจ 3. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ถนนสายหลัก สายรอง ซอยลัด ซอยย่อย ได้แก่ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนลาดพร้าว ถนนประชาอุทิศ และในพื้นที่เขต เป็นประจำทุกวัน รวมตรวจ 92 ครั้ง -เดือนตุลาคม 2562 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง -เดือนพฤศจิกายน 2562 ออกตรวจ จำนวน 30 ครั้ง -เดือนธันวาคม 2562 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง 4. พบการฝ่าฝืนติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ดำเนินการแก้ไขจัดเก็บ ทั้งสิ้นจำนวน 1,737 ป้าย จับกุมดำเนินคดี 12 ราย เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 15,500 บาท ดังนี้ เดือนตุลาคม 2562 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑฺ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 461 ป้าย - ป้ายอื่น 239 ป้าย รวม 700 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 4 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 4,500 บาท เดือนพฤศจิกายน 2562 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑฺ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว 5 ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 405 ป้าย - ป้ายอื่น 206 ป้าย รวม 616 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 5 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 4,000 บาท เดือนธันวาคม 2562 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑฺ กกต. 24 ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 253 ป้าย - ป้ายอื่น 144 ป้าย รวม 421 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 3 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 7,000 บาท 5. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจสอบกวดการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ถนนสายหลัก สายรอง ซอยลัด ซอยย่อย ได้แก่ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนลาดพร้าว ถนนประชาอุทิศ และในพื้นที่เขต เป็นประจำทุกวัน รวมตรวจ 91 ครั้ง -เดือนมกราคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง -เดือนกุมภาพันธ์ 2563 ออกตรวจ จำนวน 29 ครั้ง -เดือนมีนาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง 2. พบการฝ่าฝืนติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ดำเนินการแก้ไขจัดเก็บ ทั้งสิ้นจำนวน 733 ป้าย จับกุมดำเนินคดี 12 ราย เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 10,000 บาท ดังนี้ เดือนมกราคม 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว 20 ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 87 ป้าย - ป้ายอื่น 130 ป้าย รวม 237 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 6 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 5,000 บาท เดือนกุมภาพันธ์ 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 196 ป้าย - ป้ายอื่น 113 ป้าย รวม 309 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 4 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 3,500 บาท เดือนมีนาคม 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 135 ป้าย - ป้ายอื่น 52 ป้าย รวม 187 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 2 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 1,500 บาท 3. การทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจสอบกวดการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต อยู่ระหว่างรอดำเนินการตามแผนที่กำหนด เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2563
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ถนนสายหลัก สายรอง ซอยลัด ซอยย่อย ได้แก่ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนลาดพร้าว ถนนประชาอุทิศ และในพื้นที่เขต เป็นประจำทุกวัน รวมตรวจ 91 ครั้ง -เดือนเมษายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 30 ครั้ง -เดือนพฤษภาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง -เดือนมิถุนายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 30 ครั้ง 2. พบการฝ่าฝืนติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ดำเนินการแก้ไขจัดเก็บ ทั้งสิ้นจำนวน 244 ป้าย จับกุมดำเนินคดี 9 ราย เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 9,000 บาท ดังนี้ เดือนเมษายน 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 92 ป้าย - ป้ายอื่น 41 ป้าย รวม 133 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 2 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 2,000 บาท เดือนพฤษภาคม 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 7 ป้าย - ป้ายอื่น 12 ป้าย รวม 19 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 4 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 4,000 บาท เดือนมิถุนายน 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 38 ป้าย - ป้ายอื่น 54 ป้าย รวม 92 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 3 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 3,000 บาท 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจสอบกวดการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต
1. เจ้าหน้าที่เทศกิจออกตรวจสอบการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ถนนสายหลัก สายรอง ซอยลัด ซอยย่อย ได้แก่ ถนนประดิษฐ์มนูธรรม ถนนลาดพร้าว ถนนประชาอุทิศ และในพื้นที่เขต เป็นประจำทุกวัน รวมตรวจ 76 ครั้ง -เดือนกรกฎาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง -เดือนสิงหาคม 2563 ออกตรวจ จำนวน 31 ครั้ง -เดือนกันยายน 2563 ออกตรวจ จำนวน 14 ครั้ง (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) 2. พบการฝ่าฝืนติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ดำเนินการแก้ไขจัดเก็บ ทั้งสิ้นจำนวน 115 ป้าย จับกุมดำเนินคดี 8 ราย เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 7,000 บาท ดังนี้ เดือนกรกฎาคม 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 13 ป้าย - ป้ายอื่น 13 ป้าย รวม 26 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 2 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 2,000 บาท เดือนสิงหาคม 2563 - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 55 ป้าย - ป้ายอื่น 6 ป้าย รวม 61 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี 6 ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน 5,000 บาท เดือนกันยายน 2563 (หมายเหตุ : ข้อมูล วันที่ 1 - 14 กันยายน 2563) - ป้ายเลือกตั้งผิดหลักเกณฑ์ กกต. - ป้าย - ป้ายเกาะกลาง - ป้าย - ป้ายบนสะพานลอย - ป้าย - ป้ายที่บดบังทัศนวิสัยการสัญจร - ป้าย - ป้ายที่อยู่เขตทาง - ป้าย - ป้ายอวยพรเทศกาลต่างๆ - ป้าย - ป้ายเลียนแบบ - ป้าย - ป้ายติดตามผนัง กำแพง รั่ว - ป้าย - ป้ายหมู่บ้านจัดสรร 13 ป้าย - ป้ายอื่น 15 ป้าย รวม 28 ป้าย - จับกุมดำเนินคดี - ราย - เปรียบเทียบปรับเป็นเงิน - บาท 3. ดำเนินการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจสอบกวดขันการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต 4. สรุปผลการทอดแบบสอบถามสำรวจความพึงพอใจของประชาชนต่อการตรวจสอบกวดขันการติดตั้งป้ายในที่สาธารณะโดยไม่ได้รับอนุญาต ประชาชนมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 97.4
๒.๒.๑ กรุงเทพมหานครเป็นมหานครที่ร่มรื่นด้วยพรรณไม้ มีพื้นที่สีเขียวเพื่อการพักผ่อนเพียงพ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
1.) โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - อยู่ระหว่างขออนุมัติงบประมาณ
1.) โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - อยู่ระหว่างปรับปรุงภูมิทัศน์ ดำเนินการปรับหน้าดิน และสร้างแปลงสำหรับเพาะพืชสมุนไพร 2.) โครงการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร - สำรวจพื้นที่สีเขียวและนำเข้าฐานข้อมูล จำนวน 6 แห่ง ได้แก่ 2.1) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 87 (แปลงที่ 3) ขนาดพื้นที่ 1 งาน 41.69 ตารางวา 2.2) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 87 แยก 12 (แปลงที่ 2) ขนาดพื้นที่ 3 ไร่ 2 งาน 86.84 ตารางวา 2.3) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 87 แยก 12 (แปลงที่ 4) ขนาดพื้นที่ 1 งาน 79.51 ตารางวา 2.4) บริเวณที่วางภายในซอยรวมน้ำใจ 2 (แปลงที่ 4) ขนาดพื้นที่ 3 งาน 13.61 ตารางวา 2.5) บริเวณที่ว่่างภายในซอยพระยาประเสริฐ (แปลงที่ 1) ขนาดพื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน 7.02 ตารางวา 2.6) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 80 แยก 26 (แปลงที่ 2) ขนาดพื้นที่ 1 ไร่ 2 งาน 26.10 ตารางวา
1.) โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - อยู่ระหว่างเพาะ-ขยายพันธุ์พืชสมุนไพรลงแปลงเพาะ 2.) โครงการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร - สำรวจพื้นที่สีเขียวและนำเข้าฐานข้อมูล จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 2.1) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 83 (แปลงที่ 1) ขนาด 2 ไร่ 0 งาน 37.32 ตารางวา 2.2) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 83 (แปลงที่ 2) ขนาด 1 ไร่ 1 งาน 93.89 ตารางวา 2.3) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 83 (แปลงที่ 3) ขนาด 2 งาน 18.89 ตารางวา
1.) โครงการค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุง และเพิ่มพื้นที่สีเขียว - ปรับปรุงภูมิทัศน์พื้นที่บริเวณสวนหย่อม และสวนริมทางเท้าระหว่างซอยลาดพร้าว ๘๔ เนื้อที่ ๑ ไร่ ๓ งาน ๔๓ ตารางวา 2.) โครงการสำรวจและรายงานการเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสภาพแวดล้อมที่ดีของเมืองต่อพื้นที่กรุงเทพมหานคร - สำรวจพื้นที่สีเขียวและนำเข้าฐานข้อมูล จำนวน 3 แห่ง ได้แก่ 2.1) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 112 (แปลงที่ 1) ขนาด 3 งาน 34.88 ตารางวา 2.2) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว 126 (แปลงที่ 1) ขนาด 1 งาน 23.53 ตารางวา 2.3) บริเวณที่ว่างภายในซอยลาดพร้าว ๖๙ แยก ๔ ขนาด ๑ งาน ๓.๒๗ ตารางวา - ดำเนินการแล้วเสร็จตามแผนงานที่วางไว้
๓.๑.๑ ผู้สูงอายุและผู้พิการสามารถใช้ชีวิตได้สะดวก | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างสรุปผลการดำเนินงาน
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ 1.จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ 2.จัดทำแบบสอบถาม 3.ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของผู้รับบริการ -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของฝ่ายทะเบียน ได้แก่ ผู้สูงอายุ(อายุ 70 ปีขึ้นไป)ผู้เจ็บป่วย และผู้พิการ ให้ได้รับความสะดวกในการขอรับบริการ จำนวน 30 ชุด ตั้งแต่เดือน ,ตุลาคม 2562 -มีนาคม 2563 - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 98.50 สรุปผู้ขอรับบริการมีความพึงพอใจมากถึงมากที่สุด
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ 1.จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ 2.จัดทำแบบสอบถาม 3.ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของผู้รับบริการ -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของฝ่ายทะเบียน ได้แก่ ผู้สูงอายุ(อายุ 70 ปีขึ้นไป)ผู้เจ็บป่วย และผู้พิการ ให้ได้รับความสะดวกในการขอรับบริการ จำนวน 90 ชุด ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 -มิถุนายน 2563 - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 99.00 สรุปผู้ขอรับบริการมีความพึงพอใจมากถึงมากที่สุด
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการ 1.จัดทำโครงการและขออนุมัติโครงการ 2.จัดทำแบบสอบถาม 3.ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของผู้รับบริการ -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการทอดแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการของฝ่ายทะเบียน ได้แก่ ผู้สูงอายุ(อายุ 70 ปีขึ้นไป)ผู้เจ็บป่วย และผู้พิการ ให้ได้รับความสะดวกในการขอรับบริการ จำนวน 110 ชุด ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2562 -สิงหาคม 2563 มีความพึงพอใจเฉลี่ยร้อยละ 98.37 คิดเป็นระดับ 4.92 มีความพึงพอใจมากที่สุด
๓.๑.๒ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสสามารถดำารงชีวิตได้อย่างมีศักดิ์ศรี | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :80.00 ผลงาน :100.00 |
จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจ ประจำเดือนพฤศจิกายน 2562 โดยมีการประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. ช่องทางทางเว็บไซด์ 2. ข่องทางการทำป้ายไวนิล 3. ช่องทางการทำแผ่นพับ 4. การทำจดหมายแจ้งเตือนผู้สูงอายุที่มีอายุถึงเกณฑ์ แบบสรุปความพึงพอใจของผู้มารับบริการด้านสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - จำนวนผู้ตอบแบบสำรวจทั้งหมด 40 คน - มีความพึงพอใจในการให้บริการ - การบริการรวดเร็ว มีความสะดวกสบายดีกว่าแต่ก่อนมาก - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 92 ( พึงพอใจมากที่สุด ) แบบสำรวจความพึงพอใจ ประจำเดือนธันวาคม 2562 โดยมีการประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. ช่องทางทางเว็บไซด์ 2. ข่องทางการทำป้ายไวนิล 3. ช่องทางการทำแผ่นพับ 4. การทำจดหมายแจ้งเตือนผู้สูงอายุที่มีอายุถึงเกณฑ์ แบบสอบถามความพึงพใจของผู้สูงอายุจำนวน 19 ราย ระดับความพึงพอใจมากถึงมากที่สุด ข้อเสนอแนะ ความพึงพอใจของผู้สูงอายุต่อการรับการลงทะเบียนและการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ - เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเรียบร้อยดีและเขตย้ายมาใหม่ดูสดใสสะดวกดี - ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 90 ( พึงพอใจมากที่สุด )
จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจประจำเดือนมกราคม - เดือนมีนาคม 2563 1. ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุ แบบสำรวจความพึงพอใจ โดยมีการประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. ช่องทางทางเว็บไซด์ 2. ข่องทางการทำป้ายไวนิล 3. ช่องทางการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์และแจกให้กับประชาชนในชมุชนและในพื้นที่เขตวังทองหลาง 4. การทำจดหมายแจ้งเตือนผู้สูงอายุที่มีอายุถึงเกณฑ์ 2. ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด - ตั้งแต่เดือนมกราคม - เดือนมีนาคม 2563 ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้รับความสะดวกในการให้บริการและมีความพึงพอใจเป็นอย่างมาก ขอให้รักษาระดับการให้บริการที่ดีต่อไป - เดือนมกราคม 63 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 93 ( พึงพอใจมากที่สุด ) - เดือนมกราคม 63 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 96 ( พึงพอใจมากที่สุด ) - เดือนกุมภาพันธ์ 63 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ย ร้อยละ 93 ( พึงพอใจมากที่สุด )
จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจประจำเดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 1. ลงพื้นที่ประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียนผู้สูงอายุ แบบสำรวจความพึงพอใจ โดยมีการประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. ช่องทางเว็บไซด์ 2. ช่องทางการทำป้ายไวนิล 3. ช่องทางการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์และแจกให้กับประชาชนในชุมชนและในพื้นที่เขตวังทองหลาง 4. การทำจดหมายแจ้งเตือนผู้สูงอายุที่มีอายุถึงเกณฑ์ 2. ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ตั้งแต่เดือนเมษายน - มิถุนายน 2563 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ยร้อยละ 93.10 - 96 % ผู้สูงอายุและประชาชนทั่วไปได้รับความสะดวกในการให้บริการและมีความถึงพอใจเป็นอย่างมาก เจ้าหน้าที่ดูแลเอาใจใส่มีความกระตือรือร้นและมีความเต็มใจในการให้บริการ
- จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจประจำเดือนตุลาคม 2562 - กันยายน 2563 โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ลงพื้นที่เพื่อประชาสัมพันธ์การรับลงทะเบียน 2. จัดทำแบบสำรวจความพึงพอใจของผู้สูงอายุที่มารับลงทะเบียน โดยมีการประชาสัมพันธ์ไม่น้อยกว่า 3 ช่องทาง ได้แก่ 1. ช่องทางเว็บไซด์ 2. ช่องทาการทำป้ายไวนิล 3. ช่องทางการทำแผ่นพับประชาสัมพันธ์และแจกให้ประชาชนในชุมชนและในพื้นที่เขตวังทองหลางได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร 4. การทำหนังสือแจ้งเตือนผู้สูงอายุที่มีอายุถึงเกณฑ์ให้มาลงทะเบียน - ระดับควาพึงพอใจอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 - เดือนกันยายน 2563 ผู้ที่มารับบริการมีความพึงพอใจเฉลี่ยร้อยละ 100% สรุปผลการดำเนินงาน - ผู้สูงอายุได้รับข้อมูลข่าวสารการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุทุกคนที่ถึงเกณฑ์ - มีช่องทางการปะชาสัมพันธ์การรับเบี้่ยยังชีพผู้สูงอายุหลากหลายช่องทาง - ผู้สูงอายุเข้ามารับบริการด้านสวัสดิการการรับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในการบริการ
๓.๓.๒ การพัฒนาคุณภาพการศึกษา | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :90.00 ผลงาน :62.40 |
ดำเนินการสอนเสริมเดือนพฤศจิกายน2562 - มกราคม 2563
ทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน
นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตวังทองหลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ผลการทดสอบ ได้คะแนนรวม 6.240
นักเรียนโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตวังทองหลาง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้เข้าร่วมการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562 ผลการทดสอบ ได้คะแนนรวม 6.240 ( ร้อยละ 62.4 )
๔.๑.๑ กรุงเทพมหานครชั้นในและชั้นกลาง มีการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างเต็มศักยภาพ สอดคล้องกับ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
อยู่ระหว่างรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงาน
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตามโครงการฯ ดังนี้ 1.ขออนุมัติโครงการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่อนุญาติก่อสร้างปี 2562 2.มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้างและมีอาคารที่สามารถออกเลขรหัสประจำบ้านตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 24 มีนาคม 2563 โดยมีผู้ยื่นคำร้องฯ จำนวน 81 ราย เจ้าหน้าที่ออกตรวจสอบอาคารฯและสามารถออกเลขรหัสประจำบ้านได้จำนวน 108 อาคาร-ลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ทั้งสิ้น 108 จุด คิดเป็นร้อยละ 100%
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตามโครงการฯ ดังนี้ 1.ขออนุมัติโครงการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่อนุญาติก่อสร้างปี 2562 2.มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้างและมีอาคารที่สามารถออกเลขรหัสประจำบ้านตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2562 - 29 มิถุนายน 2563 โดยมีผู้ยื่นคำร้องฯ จำนวน 126 ราย เจ้าหน้าที่ออกตรวจสอบอาคารฯและสามารถออกเลขรหัสประจำบ้านได้จำนวน 126 อาคาร-ลงจุดตำแหน่งอาคารที่มีการออกเลขรหัสประจำบ้านได้ทั้งสิ้น 126 จุด คิดเป็นร้อยละ 100%
-ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตามโครงการฯ ดังนี้ 1.ขออนุมัติโครงการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่อนุญาติก่อสร้างปี 2563 2.มอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่เจ้าหน้าที่ในการตรวจสอบการออกเลขรหัสประจำบ้านของอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้าง -ฝ่ายทะเบียนได้ดำเนินการตรวจสอบอาคารที่ขออนุญาตก่อสร้างและมีอาคารที่สามารถออกเลขรหัสประจำบ้านตั้งแต่เดือนตุลาคม 2562 – สิงหาคม 2563 มีผู้มายื่นคำร้องจำนวน 136 รายและสามารถลงจุดแสดงตำแหน่งฯ ได้ทั้ง 136 ราย คิดเป็นร้อยละ 100 -ฝ่ายโยธาได้ดำเนินการลงจุดแสดงตำแหน่งพื้นที่ขออนุญาตก่อสร้าง ตั้งแต่ ตค.62- กย. 63 จำนวน 185 ราย
๗.๔.๑ กรุงเทพมหานครมีการบริหารจัดการด้านการเงินการคลังและการงบประมาณ ที่เป็นมาตรฐานสากลแ | |
![]() |
หน่วยนับ :ร้อยละ เป้าหมาย :100.00 ผลงาน :100.00 |
- ภาษีโรงเรือนและที่ดิน 169 ราย เป็นจำนวนเงิน 6,380,301.25 บาท - ภาษีบำรุงท้องที่ 42 ราย เป็นจำนวนเงิน 21,217.09 บาท - ภาษีป้าย 277 ราย เป็นจำนวนเงิน 189,488.05 บาท ยอดรวม 488 ราย เป็นจำนวนเงิน 6,591,006.39 บาท ดำเนินการเร่งรัดลูกหนี้ค้างชำระภาษี 3 ประเภท จำนวนเงิน 1,510,757.43 บาท
- ภาษีโรงเรือนและที่ดิน 423 ราย เป็นจำนวนเงิน 17,199,152.29 บาท - ภาษีบำรุงท้องที่ 275 ราย เป็นจำนวนเงิน 276,130.16 บาท- ภาษีป้าย 1,548 ราย เป็นจำนวนเงิน 6,111,197.65 บาทยอดรวม 2,246 ราย เป็นจำนวนเงิน 23,586,480.10 บาท ดำเนินการเร่งรัดลูกหนี้ค้างชำระภาษี 3 ประเภท จำนวนเงิน 1,510,757.43 บาท 7,634,026.99 บาท
- ภาษีโรงเรือนและที่ดิน 536 ราย เป็นจำนวนเงิน 20,689,668.36 บาท - ภาษีบำรุงท้องที่ 384 ราย เป็นจำนวนเงิน 289,306.87 บาท - ภาษีป้าย 2,312 ราย เป็นจำนวนเงิน 11,392,444.55 บาท ยอดรวม 3,232 ราย เป็นจำนวนเงิน 32,371,419.78 บาท ดำเนินการเร่งรัดลูกหนี้ค้างชำระภาษี 3 ประเภท จำนวนเงิน 9,261,242.30 บาท
- ลงพื้นที่สำรวจภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ภาษีโรงเรือนและที่ดิน ภาษีบำรุงท้องที่ และภาษีป้าย ในพื้นที่เขตวังทองหลาง ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2562 ถึง 11 กันยายน 2563 - ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 10,549 ราย เป็นจำนวนเงิน 14,836,496.11 บาท - ภาษีโรงเรือนและที่ดิน 704 ราย เป็นจำนวนเงิน 26,789,676.34 บาท - ภาษีบำรุงท้องที่ 1,350 ราย เป็นจำนวนเงิน 628,273.08 บาท - ภาษีป้าย 2,686 ราย เป็นจำนวนเงิน 13,566,198.25 บาท ยอดรวม 15,289 ราย เป็นจำนวนเงิน 55,810,643.78 บาท ดำเนินการเร่งรัดลูกหนี้ค้างชำระภาษี 3 ประเภท 9,756,884.76 บาท ดำเนินการออกหนังสือแจ้งภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง จำนวน 16,392 ราย จากจำนวนผู้ที่เข้าข่ายเสียภาษี 16,392 ราย